กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้รายงานสถานการณ์อุทกภัยเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2565 เวลา 06.00 น. รายละเอียดดังนี้
1.1 จากสถานการณ์มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย รวมถึง สถานการณ์พายุ “โนรู (NORU)” ที่เข้าประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 28
กันยายน 2565 กับมีลมแรง บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้และอ่าวไทย ประกอบกับ มีการระบายน้ำจากเขื่อนลงแม่น้ำสายหลัก และลำน้ำสาขา ซึ่งส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง และน้ำท่วมขัง ระหว่างวันที่ 28 กันยายน - 8 ตุลาคม 2565 จำนวน 54
จังหวัด 262 อำเภอ 1,237 ตำบล 7,344 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 240,066 ครัวเรือน ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 25 จังหวัด 132 อำเภอ 711 ตำบล 4,377 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 156,240 ครัวเรือน ดังนี้
1) จ.ตาก วันที่ 12 กันยายน - 4 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักเป็นเวลาหลายชั่วโมงประกอบกับฝนตกสะสมเป็น เวลาหลายวันทำให้น้ำในคลองแม่ระกาไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ ต.ยกกระบัตร ต.วังจันทร์ ต.วังหมัน อ.สามเงา ต.แม่สลิด อ.บ้านตาก ต.หัวเดียด อ.เมืองตาก ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 1,439 ครัวเรือน โดย ศูนย์ ปภ. เขต 8 กำแพงเพชร สนับสนุนเครื่องสูบน้ำระยะไกล สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร
ในพื้นที่ชลประทานตาก จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ ทั้งนี้ได้มอบถุงยังชีพจำนวน 758 ชุด น้ำดื่ม 1,440 ขวด กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและมณฑลทหารบกที่ 310 ประกอบอาหารเลี้ยงผู้ประสบภัยน้ำท่วม มื้อละ 1500 กล่อง พร้อมน้ำดื่ม เร่งเสริมกระสอบทรายคันดิน และเสริมด้วยถุงบิ๊กแบ็คในการปิดทางน้ำเพื่อไม่ให้น้ำจาก แม่น้ำวังทะลักเข้าท่วมในพื้นที่ สถานีกาชาด
เทพรัตน์ที่ 13 จังหวัดตาก มอบชุดธารน้ำใจสภากาชาดไทยช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย จำนวน 981 ชุด ปัจจุบันระดับน้ำลดลง1500 กล่อง พร้อมน้ำดื่ม เร่งเสริมกระสอบทรายคันดิน และเสริมด้วยถุงบิ๊กแบ็คในการปิดทางน้ำเพื่อไม่ให้น้ำจาก แม่น้ำวังทะลักเข้าท่วมในพื้นที่ สถานีกาชาดเทพรัตน์ที่ 13 จังหวัดตาก มอบชุดธารน้ำใจสภากาชาดไทยช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย จำนวน 981 ชุด ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
2) จ.เพชรบูรณ์ วันที่ 29 กันยายน - 5 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนัก ทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ อ.ศรีเทพ อ.เมืองเพชรบูรณ์ ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 2,120
ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้า สำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ อพยพประชาชนที่อยู่ท้ายน้ำไปไว้ที่จุดอพยพ
ของหมู่บ้าน ประมาณ 30 ครัวเรือน ติดตั้งเครื่องสูบน้ำขนาด 54,000 ลิตร/นาที ที่ ต.นาป่า อ.เมืองเพชรบูรณ์ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
3) จ.พิจิตร วันที่ 28-30 กันยายน 2565 จากสถานการณ์แม่น้ำน่าน และแม่น้ำยมเอ่อล้น ส่งผลให้น้ำเข้าท่วม บ้านเรือนประชาชน ในพื้นที่ อ.สามง่าม อ.วชิรบารมี อ.ทับคล้อ อ.บึงนาราง อ.บางมูลนาก อ.เมืองพิจิตร อ.ตะพานหิน อ.โพทะเล อ.โพธิ์ประทับช้าง โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร จนท.ตร. อปท.อ.ตะพานหิน
อ.โพทะเล อ.โพธิ์ประทับช้าง โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าให้การช่วยเหลือมอบเครื่องอุปโภคบริโภค (ถุงธารน้ำใจอ.ตะพานหิน อ.โพทะเล อ.โพธิ์ประทับช้าง โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อส.
อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าให้การช่วยเหลือมอบเครื่องอุปโภคบริโภค (ถุงธารน้ำใจสภากาชาดไทย) ให้แก่ประชาชนที่ประสบอุทกภัยจำนวน 689 ชุด เรือท้องแบน เรือพลาสติก สุขาชั่วคราว เสื้อชูชีพ เพื่อเป็นการ บรรเทาทุกข์แก่ผู้ประสบภัยเบื้องต้น ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
4) จ.นครสวรรค์ วันที่ 2-5 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักในพื้นที่ อ.ท่าตะโก ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน ในพื้นที่ อ.ท่าตะโก และมีน้ำเอ่อล้นตลิ่ง ในพื้นที่ อ.พยุหะคีรี
อ.โกรกพระ อ.ตาคลี อ.ชุมแสง โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งสูบน้ำ
ออกจากพื้นที่ อ.ท่าตะโก เพื่อบรรเทาทุกข์เบื้องต้น ปัจจุบันน้ำในพื้นที่ อ.ท่าตะโก ลดลงน้ำล้นตลิ่งใน อ.พยุหะคีรี อ.โกรกพระ อ.ชุมแสง ปัจจุบันระดับน้ำทรงตัว
5) จ.ชัยภูมิ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักทำให้น้ำจากลำห้วยเสว เอ่อล้นพนังคอนกรีตกั้นน้ำทำให้น้ำไหล เข้าในพื้นที่ อ.เมืองชัยภูมิ อ.บ้านเขว้า อ.คอนสวรรค์ อ.จัตุรัส อ.ภูเขียว ประชาชนได้รับผล
กระทบ 898 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. มูลนิธิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความเสียหาย และจัดกำลังพล เข้าปฏิบัติงานช่วยเหลือประชาชน
โดยร่วมกันทำความสะอาดพื้นที่และกำหนดจัดกิจกรรมท าความสะอาด (Big Cleaning) พร้อมกันทั้งจังหวัดหลังน้ำลด ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
6) จ.กาฬสินธุ์ วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เกิดน้ำเอ้อล้นรอบเขื่อนลำปาว เข้าท่วมในพื้นที่ ต.ภูสิงห์ ต.โนนศิลา อ.สหัสขันธ์ ต.หนองบัว อ.หนองกุงศรี ต.ดงสมบูรณ์ ต.ยางอู้ม อ.ท่าคันโท ต.นาเชือก อ.ยางตลาด ต.ลำชี
ต.ฆ้องชัยพัฒนา อ.ฆ้องชัย ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 60 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ ทั้งนี้ได้สนับสนุน
เครื่องจักรกลสาธารณภัย ทำคันป้องกันน้ำท่วมและมอบถุงยังชีพ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
7) จ.นครราชสีมา วันที่ 30 กันยายน 2565 เกิดฝนตกหนักน้ำไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ ต.บ้านยาง ต.ไพล ต.ช่องแมว อ.ลำทะเมนชัย ต.นากลาง อ.สูงเนิน ต.ตลาดไทย ต.โนนตูม ต.สาหร่าย ต.ท่าลาด ต.ประสุข ต.หนองหลัก ต.ชุมพวง อ.ชุมพวง
ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 1,195 ครัวเรือน โดย ผวจ. สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร ในพื้นที่ จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อปพร.อาสาสมัคร มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความเสียหายและ
ให้การเร่งสูบน้ำออกจากพื้นที่ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 5 นครราชสีมา สนับสนุนรถยกสูง 3 คัน เรือท้องแบน 8 ลำช่วยเหลือประชาชนเพื่อเป็นการบรรเทาทุกข์เบื้องต้น ปัจจุบันระดับน้ำทรงตัว
8) จ.สุรินทร์ เกิดฝนตกหนักไหลลงแม่น้ำมูลส่งผลกระทบให้เกิดน้ำล้นตลิ่งในพื้นที่ อ.ชุมพลบุรี อ.ท่าตูม อ.รัตนบุรี อ.สำโรงทาบ อ.เมืองสุรินทร์ อ.จอมพระ ส่งผลให้ประชาชนได้รับ ผลกระทบ 22,179
ครัวเรือน ทั้งนี้ ศูนย์ ปภ. เขต 5 นครราชสีมา สนับสนุนเครื่องจักรกลสาธารณภัย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหาร ในพื้นที่ ชลประทานตาก จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจ ความเสียหายและให้การเร่งสูบน้ำออกจากพื้นที่ และจัดกำลังพลเข้าปฏิบัติงานช่วยเหลือประชาชน ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
9) จ.ศรีสะเกษ วันที่ 25 กันยายน - 3 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักน้ำในคลองสำราญเอ่อล้นในพื้นที่ชุมชนหนองอุทัย ต.เมืองเหนือ ทม.เมืองฯ อ.เมืองศรีสะเกษ ต.ห้วยทับทัน ต.ผักไหม ต.กล้วยกว้าง ต.เมืองหลวง อ.ห้วยทับทัน ต.ลิ้นฟ้า อ.ยางชุมน้อย ต.ศรีสำราญ ต.ธาตุ อ.วังหิน ต.ละลม ต.ห้วยตามอญ ต.ดงรัก อ.ภูสิงห์ ต.น้ำเกลี้ยง ต.คูบ อ.น้ำเกลี้ยง ต.ทุ่งไชย
ต.โคกจาน อ.อุทุมพรพิสัย และ อ.ราษีไศล ประชาชนได้รับผลกระทบ 1,301 ครัวเรือน มีผู้เสียชีวิต 3 ราย (ชาย 1 ราย สาเหตุต้นไม้ล้มทับรถกระบะ อ.ห้วยทับทัน และ ชาย 1 หญิง 1 ราย สาเหตุน้ำพัดพา อ.โนนคูน) ผู้บาดเจ็บ 2 ราย (ชาย) และอพยพประชาชน 736 ครัวเรือน 2,600 คน ศูนย์พักพิง ชั่วคราว 25 จุด โดย ผวจ. ศูนย์ ปภ. เขต 13 อุบลราชธานี ให้การสนับสนุน
รถเคลื่อนย้ายผู้ประสบภัย รถบรรทุก ขนาดเล็ก เรือท้องแบน และเรือพลาสติก สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าให้การช่วยเหลือ ถุงยังชีพ 602 ชุด เรือท้องแบน 2 ลำ เรือพลาสติก 7 ลำ เสื้อชูชีพ 30 ตัว ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
10) จ.อุบลราชธานี วันที่ 17 สิงหาคม และ 29 กันยายน - 5 ตุลาคม 2565 เกิดน้ำเอ่อล้นตลิ่งในพื้นที่ ทม.แจระแม ทน. อุบลราชธานี ต.หนองบ่อ อ.เมืองอุบลราชธานี ทม.วารินชำราบ ต.บุ่งไหม ต.หนองกินเพล ต.คำน้ำแซบ อ.วารินชำราบ ทต.ท่าช้าง อ.สว่างวีระวงศ์ ทม.พิบูลมังสาหาร ต.ไร่ใต้ อ.พิบูลมังสาหาร ต.โพนงาม ต.เมืองเดช อ.เดชอุดม ต.โนนกาเล็น อ.ส าโรง ต.ขามเปี้ย ต.เซเป็ด อ.ตระการพืชผล ต.ห้วยเรือ อ.เขื่องใน ต.เหล่าแดง อ.ดอนมดแดง และอพยพ
ประชาชน 143 ชุมชน ศูนย์พักพิงชั่วคราว 86 จุด ประชาชนได้รับผลกระทบ 6,076 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ.อำเภอ อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าสำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ สนับสนุน เต็นท์พระราชทานมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ 20 เต็นท์ เต็นท์พักชั่วคราว 790 หลัง รถสุขาเคลื่อนที่ 2 คัน ตู้สุขาเคลื่อนที่ 120 ตู้ ถังน้ำอุปโภคบริโภค 50 ถัง ถุงยังชีพ 4,205 ชุด ชุดยารักษาโรค 1,209 ชุด น้ำดื่ม
2,981 แพ็ค ข้าวกล่องอาหารปรุงสุก 13,120 กล่อง เรือพลาสติก 70 ลำ ทรายบรรจุกระสอบ 40,500 ใบ สนง.โยธาฯ สนง.ทรัพยากรน้ำ ภาค 11 อุบลราชธานี ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ เพื่อสูบน้ำท่วมขังในพื้นที่ ชุมชนท่ากอไผ่ ทม.วารินช าราบ รอง ผวจ. บูรณาการความร่วมมือจากหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จิตอาสาพระราชทาน 904 ลงพื้นที่เยี่ยม ให้กำลังใจพร้อมมอบสิ่งของบรรเทาทุกข์และน้ำดื่มให้แก่ผู้ประสบอุทกภัย ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
11) จ.อุทัยธานี วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักน้ำไหลหลากเข้าท่วมในพื้นที่ อ.เมืองอุทัยธานี อ.ทัพทัน อ.สว่างอารมณ์ อ.ห้วยคต อ.บ้านไร่ อ.หนองขาหย่าง
อ.ลานสัก อ.หนองฉาง ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 7,575 ครัวเรือน โดย ศูนย์ ปภ. เขต 16 ชัยนาท สนง.ปภ.จ. อำเภอ จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อปพร.
อาสาสมัคร มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความเสียหายและเร่งสูบน้ำออกจากพื้นที่ มอบน้ำดื่ม 3,000 ขวด ปัจจุบันระดับน้ำทรงตัว
12) จ.ชัยนาท วันที่ 29 กันยายน - 6 ตุลาคม 2565 เกิดน้ำเอ่อล้นตลิ่ง ในพื้นที่เหนือเขื่อนเจ้าพระยาในพื้นที่ ต.ธรรมามูล ต.ท่าชัย ต.หาดท่าเสา อ.เมืองชัยนาท ต.มะขามเฒ่า ต.วังหมัน ต.หนองขุ่น ต.หนองบัว อ.วัดสิงห์ ต.ศิลาดาน ต.ท่าฉนวน ต.ไร่พัฒนา ต.วัดโคกต.คุ้งสำเภา อ.มโนรมย์ ต.สามง่ามท่าโบสถ์ ต.หันคา
ต.บ้านเชียน ต.หนองแซง ต.เด่นใหญ่ อ.หันคา ต.โพนางดำออก ต.โพนางดำตก ต.หาดอาษา ต.ตลุก ต.บางหลวง ต.สรรพยา ต.เขาแก้ว อ.สรรพยา ต.วังตะเคียน ต.สะพานหิน อ.หนองมะโมง ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 8,292 ครัวเรือน โดย ศูนย์ ปภ. เขต 16 ชัยนาท ดำเนินการอุดท่อระบายน้ำและทำคันดิน
กันน้ำ พร้อมทั้งติดตั้งเครื่องสูบน้ำ เพื่อระบายน้ำที่ท่วมขังออกจากพื้นที่ ต.ในเมือง อ.เมืองชัยนาท สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความ เสียหายและให้การช่วยเหลือ มอบสุขาเคลื่อนที่ เรือพาย และถุงยังชีพ ให้แก่ผู้ประสบภัย ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
13) จ.สิงห์บุรี วันที่ 14 กันยายน 2565 - 4 ตุลาคม 2565 เกิดน้ำล้นตลิ่งจากการระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยาในพื้นที่ ต.อินทร์บุรี ต.ชีน้ำร้าย ต.ทับยา ต.ประศุก อ.อินทร์บุรี ต.บางกระบือ อ.เมืองสิงห์บุรี ต.หัวป่า
ต.พระงาม ต.บ้านหม้อ อ.พรหมบุรี ต.ถอนสมอ ต.พิกุลทอง ต.วิหารขาว อ.ท่าช้าง ประชาชนได้รับผลกระทบ 6,033 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหารในพื้นที่ จนท.ตร. อปท. จิตอาสา
อปพร.อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าสำรวจ ความเสียหายและให้การช่วยเหลือกั้นคันดินโดยใช้หินคลุกเพื่อเป็นแนวกันน้ำ แจกอาหารปรุงสุกให้ประชาชนในพื้นที่ ประสบอุทกภัยจำนวน 900 กล่อง ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
14) จ.อ่างทอง วันที่ 21 สิงหาคม 2565 - 4 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักประกอบกับมีการระบายน้ำผ่านเขื่อนเจ้าพระยา เพิ่มขึ้นทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ อ.วิเศษชัยชาญ อ.ป่าโมก อ.ไชโย อ.เมืองอ่างทอง อ.โพธิ์ทอง ประชาชนได้รับผล
กระทบ 4,426 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหารในพื้นที่ จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าสำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ เสริมแนวคันดินกันน้ำบริเวณ ถ.เลียบคลองมหาราช เสริมแนว กระสอบทราย บริเวณ
หลังวัดจำปาหล่อ โดย ศูนย์ ปภ.เขต 2 สุพรรณบุรี สนับสนุนเครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่ 14 เครื่อง เพื่อเร่งระบายน้ำจากคลองมหาราชลงสู่คลองบางแก้วถุงยังชีพจำนวน 4,497 ชุด ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
15) จ.พระนครศรีอยุธยา วันที่ 13 สิงหาคม - 4 ตุลาคม 2565 เกิดน้ำล้นตลิ่งจากการระบายน้ำเขื่อนเจ้าพระยา ในพื้นที่ 6 อำเภอ 92 ตำบล 590 หมู่บ้าน ได้แก่ อ.เสนา อ.ผักไห่ อ.บางบาล อ.บางไทร อ.บางปะอิน อ.พระนครศรีอยุธยา ประชาชนได้รับผลกระทบ 59,582 ครัวเรือน ทั้งนี้ ศูนย์ ปภ.เขต 2 สุพรรณบุรี สนับสนุนเครื่องสูบน้ำเต้นท์นอน 80 หลัง เสื้อชูชีพ 50 ตัว
ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเร่งสูบน้ำออกจากพื้นที่ลุ่มต่ำน้ำท่วมขัง เสริมแนวคันกันน้ำ วางกระสอบทรายพื้นที่นอกเขตคันกั้นน้ำ พร้อมเข้าสำรวจความเสียหาย และให้การช่วยเหลือเบื้องต้น โดย สนง.ปภ.จ. สนับสนุนรถเคลื่อนย้าย 2 คัน เต็นท์ 45 หลัง เสื้อชูชีพ 10 ตัว หน่วยทหารอำเภอ อปท. จิตอาสา อปพร. อาสาสมัคร
มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมแจกจ่ายถุงยังชีพ ที่ ต.คลองจิก อ.บางปะอิน และ ต.ภูเขาทอง อ. พระนครศรีอยุธยา จำนวน 306 ชุด รวม 75,760ชุด น้ำดื่ม 2,700 แพ็คยาสามัญประจำบ้าน ยาชุดน้ำท่วม ยาป้องกันโรค ยาน้ำกัดเท้า ยากันยุง 25,050ชุดและสิ่งของจำเป็นในการดำรงชีพ ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
16) จ.ปทุมธานี วันที่ 31 สิงหาคม 25 - 5 ตุลาคม 2565 น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ ต.บางขะแยง ทม.ปทุมธานี ต.บางหลวง ต.บางเดือ ต.บางคูวัด ต.บางกระแซง ต.บ้านกลาง ต.บางกระดี ต.บ้านใหม่ ต.บ้านฉาง อ.เมืองปทุมธานี ต.กระแชง
ต.บ้านงิ้ว ต.เชียงรากน้อย ต.ท้ายเกาะ ต.บางกระบือ ต.คลองควาย ต.บางเตย ต.บางโพธิ์เหนือ ต.สามโคก ต.บ้านปทุม ต.เชียงรากใหญ่ อ.สามโคก ประชาชนได้รับผลกระทบ 4,926 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. จิตอาสา อส.
อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าสำรวจความเสียหายและให้การช่วยเหลือ สมาคมเท่งไฮ้แห่งประเทศไทยสนับสนุนถุงยังชีพ 1,200 ชุด ศูนย์อำนวยการจิตอาสาพระราชทาน อ.สามโคก ร่วมกันกรอกกระสอบทรายเพื่อทำคันกั้นน้ำ ปัจจุบันระดับน้ำเพิ่มขึ้น
17) จ.ลพบุรี วันที่ 30 กันยายน 2565 เกิดฝนตกหนักทำให้เกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ อ.เมืองลพบุรี อ.ชัยบาดาล อ.บ้านหมี่ อ.พัฒนานิคม อ.ท่าหลวง อ.โคกสำโรง และอพยพประชาชน 497 คน ณ ศูนย์พักพิงชั่วคราว 5 จุด ส่งผลให้ประชาชนได้รับ
ผลกระทบ 6,673 ครัวเรือน โดย ผวจ. สนง.ปภ.จ. อำเภอ หน่วยทหารในพื้นที่ จนท.ตร. อปท. จิตอาสา อปพร.อาสาสมัคร มูลนิธิ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าสำรวจความเสียหายและให้การเร่งสูบน้ำ ออกจาก
พื้นที่ พร้อมสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ 30 เครื่อง เรือไฟเบอร์ 80 ลำ ข้าวกล่อง 20,820 กล่อง มอบถุงยังชีพที่ ต.เขาพระงาม อ.เมืองลพบุรี และต.พุคา อ.บ้านหมี่ จำนวน 2,964 ชุด ปัจจุบันระดับน้ำทรงตัว
18) จ.นครปฐม วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักและน้ำในแม่น้ำท่าจีนและคลองสาขาล้นตลิ่งเข้าท่วม ในพื้นที่ ต.ไทยาวาส ต.บางพระ ต.ดอนแฝก ต.บางแก้วฟ้า ต.นครชัยศรี ต.ศรีมหาโพธิ์ ต.สัมปทวน ต.โคกพระเจดีย์ ต.วัดละมุด ต.งิ้วราย ต.ท่าตำหนัก ต.บางกระเบา ต.ท่ากระชัย ต.ลานตากฟ้า ต.แหลมบัว อ.นครชัยศรี ต.ไทรงาม ต.บางเลน ต.บางไทรป่า ต.บางหลวง
ต.หินมูล ต.คลองนกกระทุง ต.บางระก า ต.บางปลา ต.ล าพญา ต.ดอนตูม อ.บางเลน ต.ไร่ขิง ต.ยายชา ต.หอมเกร็ด ต.ท่าตลาด ต.บางช้าง อ.สามพราน ต.สระสี่มุม ต.สระพัฒนา ต.ห้วยม่วง ต.วังน้ำเขียว อ.กำแพงแสน ต.ธรรมศาลา อ.เมืองนครปฐม ต.ดอนพุทรา อ.ดอนตูม ต.มหาสวัสดิ์ ต.พุทธมณฑล ส่งผลให้ประชาชนได้รับผลกระทบ 4,976 ครัวเรือน
โดย ศูนย์ ปภ.เขต 1 ปทุมธานี สนง.ปภ.จ. โครงการ ชลประทานนครปฐม สภากาชาดไทย อำเภอ อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าให้การช่วยเหลือ แจกจ่ายถุงยังชีพ 1,889 ชุด ติดตั้งเครื่องระบายน้ำในแม่น้ำท่าจีนเพื่อเร่งระบายน้ำในพื้นที่ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
19) จ.นครนายก วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เกิดฝนตกหนักไหลลงสู่ลำน้ำสายหลัก และลำน้ำสาขา ส่งผลให้น้ำล้นตลิ่ง เข้าท่วมพื้นที่ ต.สาริกา ต.เขาพระ ต.ท่าช้าง ต.บ้านใหญ่ต.พรหมณี ต.ท่าทราย ต.วังกระโจม ต.ศรีจุฬา ต.ดอนยอ ต.ดงละคร อ.เมืองฯ ต.เกาะโพธิ์ ต.ท่าเรือ อ.ปากพลีต.บางอ้อ
ต.บ้านพริก ต.ป่าขะ ต.บ้านนา ต.บ้านพร้าว ต.พิกุลออก ต.อาษา ต.ทองหลาง อ.บ้านนา ต.บึงศาล ต.ชุมพล ต.พระอาจารย์ ต.ทรายมูล ต.องครักษ์ ต.บางลูกเสือ ต.บางสมบูรณ์ ต.บางปลากด ต.โพธิ์แทน อ.องครักษ์ประชาชนได้รับผลกระทบ 8,157 ครัวเรือน โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท.
จิตอาสา อส.อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าให้การช่วยเหลือแจกจ่าย ถุงยังชีพ 8,004 ชุด น้ำดื่มสะอาด 41,364 ขวด ยาและเวชภัณฑ์ 2,784 ชุด กระสอบทราย 212,456 ใบ เรือ 185 ล า ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ 16 เครื่อง ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
1.2 จากสถานการณ์บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นกำลังปานกลางจากประเทศจีนแผ่เสริม ลงมาปกคลุมประเทศไทยตอนบน ในวันที่ 9 ตุลาคม 2565 ทำให้มีฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง
และฝนตกหนักถึงหนักมาก กับมีลมแรง บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และอ่าวไทย ซึ่งส่งผลให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก น้ำล้นตลิ่ง น้ำท่วมขังและลม
กระโชกแรง ระหว่างวันที่ 9-11 ตุลาคม 2565 จำนวน 3 จังหวัด 3 อำเภอ 5 ตำบล 5 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 110 ครัวเรือน ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 2 จังหวัด 3 อำเภอ 3 ตำบล 3 หมู่บ้าน ดังนี้
1) จ.เพชรบุรี วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 12.00 น. เกิดฝนตกหนักน้ำท่วมขังในพื้นที่ ต.เขาใหญ่ อ.ชะอำ ส่งผลให้น้ำท่วมผิวการจราจร1) จ.เพชรบุรี วันที่ 10 ตุลาคม 2565
เวลา 12.00 น. เกิดฝนตกหนักน้ำท่วมขังในพื้นที่ ต.เขาใหญ่ อ.ชะอำ ส่งผลให้น้ำท่วมผิวการจราจรบนถนนเพชรเกษม บริเวณชุมชนเจ้าพ่อเขาใหญ่ โดย สนง.ปภ.จ.
อำเภอ อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัครมูลนิธิ เข้าสำรวจความเสียหาย และให้การช่วยเหลือเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง
2) จ.ราชบุรี วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 12.00 น. เกิดฝนตกหนักน้ำท่วมขังในพื้นที่ ต.วังเย็น ต.บางแพ อ.บางแพ อยู่ระหว่างสำรวจความเสียหาย โดย สนง.ปภ.จ.
อำเภอ อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้าสำรวจอยู่ระหว่างสำรวจความเสียหาย โดย สนง.ปภ.จ. อำเภอ อปท. จิตอาสา อส. อปพร. อาสาสมัคร มูลนิธิ เข้า
สำรวจความเสียหาย และให้การช่วยเหลือเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่ ปัจจุบันระดับน้ำลดลง