เดือนกรกฎาคม 2560 ประเทศไทยเกิดสถานการณ์ฝนตกหนักจากอิทธิพลของพายุ 2 ลูก ลูกแรกคือพายุโซนร้อน "ตาลัส" (TALAS) ที่ส่งผลกระทบกับประเทศไทยในช่วงกลางเดือน ทำให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วมในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะทางด้านตอนบนของภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน เป็นต้น รวมถึงบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมวลน้ำบางส่วนในพื้นที่ภาคเหนือได้ไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ภาคกลาง ทำให้ปริมาณน้ำในลำน้ำมีค่อนข้างมากและเกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ำริมน้ำบริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
               สถานการณ์น้ำท่วมจากอิทธิพลของพายุ "ตาลัส" (TALAS) ยังไม่เข้าสู่สภาวะปกติ พายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ซึ่งเป็นพายุลูกที่ 2 ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทยในช่วงปลายเดือน ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่องในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางพื้นที่ของภาคเหนือ โดยอิทธิพลของพายุเริ่มส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักบริเวณด้านตะวันออกตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงวันที่ 24 ก.ค. 60 หลังจากนั้นสถานการณ์ฝนตกหนักเริ่มแผ่กว้างไปถึงตอนกลางของภาค และกระจายสู่ตอนบนของภาคในช่วงวันที่ 28-29 ก.ค. 60 นอกจากนี้อิทธิพลของพายุยังส่งผลทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีกำลังแรงขึ้น ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักในพื้นที่รับลม ได้แก่ ด้านตะวันตกของภาคใต้บริเวณจังหวัดชุมพร ระนอง พังงา สุราษฎร์ธานี และภาคตะวันออกบริเวณจังหวัดจันทบุรีและตราด
               ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์สาธารณภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำวันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 07.00 น. ได้รายงานสถานการณ์ฝนตกหนักทำให้เกิดอุทกภัยและน้ำไหลหลากท่วมขังในพื้นที่ 44 จังหวัด ประกอบด้วย ภาคเหนือ 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ น่าน กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ พิจิตร อุตรดิตถ์ พะเยา พิษณุโลก แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง สุโขทัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 18 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ เลย อุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม ศรีสะเกษ นครราชสีมา กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ สกลนคร มุกดาหาร อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด อุดรธานี ยโสธร หนองคาย นครพนม สุรินทร์ ภาคกลาง 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา อุทัยธานี อ่างทอง นนทบุรี สระบุรี ลพบุรี ภาคตะวันออก 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรีและตราด ภาคใต้ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระนอง ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร รวม 300 อำเภอ 1,651 ตำบล 13,191 หมู่บ้าน 43 ชุมชน ประชาชนได้รับผลกระทบ 580,352 ครัวเรือน 1,845,956 คน มีผู้เสียชีวิต 29 ราย ประกอบด้วย จังหวัดสกลนคร 11 ราย มหาสารคาม 4 ราย ร้อยเอ็ด 4 ราย มุกดาหาร 2 ราย อุดรธานี 2 ราย ศรีสะเกษ 3 ราย ขอนแก่น 2 ราย อุบลราชธานี 1 ราย ความเสียหายด้านสิ่งสาธารณประโยชน์ บ้านเรือนได้รับผลกระทบ 4,129 หลัง ถนน 2,055 จุด คอสะพาน 43 แห่ง สะพาน 177 แห่ง โรงเรียน 131 แห่ง วัด 39 แห่ง สถานที่ราชการ 7 แห่ง ฝ่าย/ทำนบ 8,704 แห่ง บ่อปลา 14,097 บ่อ ปศุสัตว์ 738,860 ตัว พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้านการเกษตร 3,036,310 ไร่
               อิทธิพลจากพายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ยังทำให้มีน้ำไหลลงเขื่อนขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มมากขึ้น โดยเขื่อนน้ำอูนและเขื่อนน้ำพุง จ.สกลนคร เกิดสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนไหลออกผ่านทางระบายน้ำล้น (Spillway) ซึ่งเขื่อนน้ำอูนเริ่มเกิดสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนตั้งแต่วันที่ 29 ก.ค. 60 เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลเข้ามาสูงสุดถึง 121 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนน้ำพุงเกิดสถานการณ์น้ำล้นตั้งแต่วันที่ 31 ก.ค. 60  สำหรับสถานการณ์น้ำไหลลงเขื่อนรวมตั้งแต่วันที่ 24 ก.ค. 60 - 3 ส.ค. 60 พบว่าเขื่อนที่มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนมากที่สุดได้แก่ เขื่อนลำปาว ที่มีน้ำไหลลงเขื่อนรวม 802 ล้านลูกบาศก์เมตร และมีน้ำไหลลงเขื่อนสูงสุด 201 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 30 ก.ค. 60 รองลงมาคือเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนรวม 484 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากเกิดสถานการณ์ฝนตกหนักบริเวณจังหวัดเลยและเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน้ำของเขื่อนป่าสัก และยังส่งผลทำให้เกิดน้ำท่วมริมแม่น้ำป่าสักบริเวณจังหวัดลพบุรีและสระบุรี   

ภาพน้ำล้น spillway เขื่อนน้ำอูน จ.สกลนคร
 
ภาพอ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น จ.สกลนคร หลังประตูระบายน้ำและคันดินพัง




ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา

          พายุ "เซินกา" (SONCA) ก่อตัวขึ้นจากหย่อมความกดอากาศต่ำที่ปกคลุมอยู่บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน ทางด้านตะวันออกของเมืองดานัง ประเทศเวียดนาม ในวันที่ 20 ก.ค. 60 และได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันในวันที่ 21 ก.ค. 60 พร้อมกับเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกและทวีกำลังต่อเนื่องเป็นพายุโซนร้อนในวันที่ 23 ก.ค. 60 ก่อนเคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณตอนกลางของประเทศเวียดนามในวันที่ 25 ก.ค. 60 และเคลื่อนตัวต่อไปยังประเทศลาวพร้อมกับอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่น หลังจากนั้นพายุดังกล่าวได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทยบริเวณจังหวัดนครพนมผ่านจังหวัดมุกดาหาร ในวันเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 26 ก.ค. 60 พายุดังกล่าวได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมบริเวณจังหวัดกาฬสินธุ์ และสลายตัวไปบริเวณจังหวัดร้อยเอ็ด ในวันที่ 28 ก.ค. 60



ข้อมูลโดย : Kochi University

                    ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม Himawari-8 แสดงให้เห็นว่าอิทธิพลจากพายุ "เซินกา" (SONCA) ส่งผลทำให้มีกลุ่มเมฆปกคลุมหนาแน่นในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก ในช่วงวันที่ 24-28 ก.ค. 60 นอกจากนี้อิทธิพลของพายุยังส่งผลทำให้ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรงขึ้น ทำให้มีกลุ่มเมฆปกคลุมในบางพื้นที่ของภาคใต้และทางด้านตะวันตกของประเทศ และในวันที่ 29-31 ก.ค. 60 ปริมาณเมฆที่ปกคลุมประเทศไทยลดน้อยลงมาก เนื่องจากพายุได้สลายตัวไปในวันที่ 28 ก.ค. 60



24/07/60 17GMT

25/07/60 11GMT

26/07/60 11GMT

27/07/60 11GMT

28/07/60 11GMT

29/07/60 11GMT

30/07/60 11GMT

31/07/60 11GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/TyphoonTracking/Goes9.php




 ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา          


                 จากภาพแผนที่อากาศ จะเห็นได้ว่าในวันที่ 24 ก.ค. 60 พายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ได้เคลื่อนตัวอยู่บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน และหลังจากนั้นได้เคลื่อนเข้าสู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย วันที่ 25 ก.ค. 60 และสลายตัวเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันที่ 26 ก.ค. 60 ส่งผลให้เกิดฝนตกหนักในหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดสกลนคร อุดรธานี มุกดาหาร นครพนม กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ เพชรบูรณ์ ขอนแก่น ยโสธร นครราชสีมา สุรินทร์ และอุบลราชธานี



24/07/60

25/07/60

26/07/60

27/07/60

28/07/60

29/07/60

30/07/60

31/07/60

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/hmain.php?page=/TyphoonTracking/show_weather_map.php




 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

                    แผนที่แสดงความกดอากาศที่ระดับความสูง 1.5 กิโลเมตรจากระดับน้ำทะเล แสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนตัวของพายุโซนร้อน "เซินกา" ซึ่งในวันที่ 24 ก.ค. 60 พายุดังกล่าวได้เคลื่อนตัวอยู่บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน (พื้นที่วงกลมสีเหลือง) ค่าความกดอากาศอยู่ที่ประมาณ 842-846 hPa และหลังจากนั้นพายุดังกล่าวได้เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยและอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่นในวันที่ 25 ก.ค. 60 และอ่อนกำลังลงต่อเนื่องเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำในวันที่ 26 ก.ค. 60 ค่าความกดอากาศอยู่ที่ประมาณ 840-846 hPa (วงกลมสีส้มอยู่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย) ก่อนจะสลายตัวไปในวันที่ 28 ก.ค. 60 ซึ่งจะพบว่าวงกลมสีเหลืองไม่มีอยู่ในบริเวณประเทศไทยในวันที่ 29 ก.ค. 60


24/07/60

25/07/60

26/07/60

27/07/60

28/07/60

29/07/60

30/07/60

31/07/60


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php, http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map_latest.php?img=pressure_upperwind_1500m_low_latest.flv




 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

                    ภาพแผนที่แสดงความเร็วลมที่ระดับความสูง 1.5 กิโลเมตร จากระดับน้ำทะเล แสดงให้เห็นว่าในช่วงวันที่ 25-18 ก.ค. 60 มีลักษณะของลมหมุนบริเวณทะเลจีนใต้ตอนบนค่อย ๆ เคลื่อนมาทางทิศตะวันตกเข้าสู่ประเทศไทย โดยความเร็วลมอยู่ที่ประมาณ 50-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รวมทั้งในช่วงเวลาดังกล่าวอิทธิพลของพายุยังทำให้ลมมรสุมที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทยและอ่าวไทย มีกำลังแรงขึ้น โดยเฉพาะช่วงวันที่ 26-27 ก.ค. 60 ลมบริเวณภาคใต้ อ่าวไทย และภาคตะวันออก มีกำลังค่อนข้างแรง ความเร็วลมสูงสุดอยู่ที่ประมาณ 60-80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

24/07/60

25/07/60

26/07/60

27/07/60

28/07/60

29/07/60

30/07/60

31/07/60



ข้อมูลเพิ่มเติม : http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map.php, http://live1.hii.or.th/wrf_image/weather_map_latest.php?img=pressure_upperwind_1500m_low_latest.flv




ข้อมูลโดย : Ocean Weather Inc.

                    แผนภาพแสดงความสูงของคลื่นและทิศทางของคลื่นแสดงให้เห็นว่า จากอิทธิพลของพายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ส่งผลให้ความสูงของคลื่นบริเวณทะเลจีนใต้ เพิ่มขึ้นเป็น 2-3 เมตร ในช่วงวันที่ 21-24 ก.ค. 60 หลังจากนั้นความสูงของคลื่นที่ได้ลดลงเหลือ 1 เมตร เนื่องจากพายุ "เซินกา" ได้เคลื่อนขึ้นฝั่งในวันที่ 25 ก.ค. 60 ส่วนความสูงของคลื่นที่เพิ่มขึ้นมากในช่วงวันที่ 25-28 ก.ค. 60 เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากพายุโซนร้อน "ไห่ถาง" (HAITANG) บริเวณทะเลจีนใต้ตอนบน และพายุไต้ฝุ่น "เนสาด" (NESAT) ทางด้านตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์


21/07/60

22/07/60

23/07/60

24/07/60

25/07/60

26/07/60

27/07/60

28/07/60


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_wave.php?zone=Ind




 ข้อมูลโดย : กรมอุตุนิยมวิทยา กรมฝนหลวงและการบินเกษตร

                    เครือข่ายภาพเรดาร์ตรวจวัดปริมาณฝนของกรมอุตุนิยมวิทยาและกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เรดาร์สกลนคร เรดาร์ขอนแก่น เรดาร์พิษณุโลก เรดาร์อุบลราชธานี ตรวจพบกลุ่มฝนกระจุกตัวบริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในช่วงวันที่ 25-28 ก.ค. 60 ที่พายุ "เซินกา" ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยโดยตรง ทำให้มีฝนตกหนักถึงหนักมากในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดสกลนคร อุดรธานี มุกดาหาร นครพนม กาฬสินธุ์ อำนาจเจริญ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ ขอนแก่น ยโสธร นครราชสีมา สุรินทร์ อุบลราชธานี เพชรบูรณ์ แพร่ น่าน สุโขทัย อุตรดิตถ์ ลำปาง กำแพงเพชร

เรดาร์สกลนคร

24/7/60 17:45GMT

25/7/60 20:45GMT

26/7/60 14:45GMT

27/7/60 14:45GMT

28/7/60 15:45GMT

29/7/60 16:45GMT

30/7/60 10:45GMT

31/7/60 14:45GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_sknradar.php



เรดาร์ขอนแก่น

24/7/60 18:30GMT

25/7/60 15:30GMT

26/7/60 03:30GMT

27/7/60 22:30GMT

28/7/60 22:30GMT

29/7/60 22:30GMT

30/7/60 22:30GMT

31/7/60 22:30GMT


ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_kkn_radar.php


เรดาร์พิษณุโลก

24/7/60 15:25GMT

25/7/60 19:30GMT

26/7/60 13:25GMT

27/7/60 10:25GMT

28/7/60 13:25GMT

29/7/60 13:25GMT

30/7/60 15:25GMT

31/7/60 05:25GMT
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_phkradar.php


เรดาร์อุบลราชธานี

24/7/60 15:30GMT

25/7/60 07:25GMT

26/7/60 03:30GMT

27/7/60 13:30GMT

28/7/60 17:45GMT

29/7/60 10:30GMT

30/7/60 08:30GMT

31/7/60 08:45GMT

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/radar/show_ubolradar.php





 ข้อมูลโดย : คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ

          รายงานข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากคลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ในช่วงวันที่ 24-31 ก.ค. 60 พบฝนตกหนักถึงหนักมากกระจุกตัวอยู่ในทุกภาคของประเทศ โดยในวันที่ 23 ก.ค. 60 มีฝนตกหนักกระจุกตัวอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบน บริเวณกรุงเทพมนคนครและปริมณฑล ต่อมาในวันที่ 24 ก.ค. 60 ยังคงมีฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือ และในวันนี้ประเทศไทยเริ่มได้รับอิทธิพลจากพายุ "เซินกา" (SONCA) ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมีฝนตกหนักทางด้านตะวันออกของภาค และอิทธิพลของพายุยังทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามันและประเทศไทยมีกำลังแรง ส่งผลทำให้ด้านตะวันตกของภาคใต้และภาคตะวันออกมีฝนหนักในบางพื้นที่ ต่อมาในช่วงวันที่ 25-28 ก.ค. 60 ซึ่งเป็นช่วงที่พายุเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย ส่งผลให้มีฝนตกหนักกระจายในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ส่วนภาคใต้และภาคตะวันออกยังคงมีฝนตกหนักต่อเนื่องเช่นกัน และในช่วงวันที่ 29-30 ก.ค. 60 ปริมาณฝนเริ่มลดลงในทุกพื้นที่ สำหรับจังหวัดที่มีฝนตกหนักมาก ปริมาณฝนสะสมเกิน 90 มิลลิเมตรต่อวัน ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อำนาจเจริญ นครราชสีมา ยโสธร กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ สกลนคร มุกดาหาร อุดรธานี นครพนม น่าน เชียงราย แพร่ ลำปาง เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร สุราษฎร์ธานี พังงา ระนอง ชุมพร ปัตตานี สตูล และตราด รายละเอียดเพิ่มเติม ดังแผนที่และตารางด้านล่าง

 

23/7/60

24/7/60

25/7/60

26/7/60
 

27/7/60

28/7/60

29/7/60

30/7/60
 

ตารางแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันช่วงวันที่ 23-31 ก.ค. 60
วันที่
สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ปริมาณฝนรายวัน (มม.) 
23/7/2017
บ้านเต๋ยกิ๋วเห็น ภูคา ปัว น่าน
125
บ้านหัวน้ำ พระธาตุ เชียงกลาง น่าน
102
บ้านหัวแม่คำ แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
  91
สุสานคริสเตียน เมืองพาน พาน เชียงราย
86
สถานีวัดน้ำฝนอุทยานเบญจสิริ คลองตัน คลองเตย กรุงเทพมหานคร
83
บ้านห้วยโก๋น ห้วยโก๋น เฉลิมพระเกียรติ น่าน
83
บ้านนากึ๋น บ่อเกลือเหนือ บ่อเกลือ น่าน
83
บ้านสกาดกลาง สกาด ปัว น่าน
75
บ้านท่าปู แม่นาวาง แม่อาย เชียงใหม่
73
สนข.พระโขนง บางจาก พระโขนง กรุงเทพมหานคร
72
บ้านห้วยน้ำมา วาวี แม่สรวย เชียงราย
72
ทต.ดงมะดะ ดงมะดะ แม่ลาว เชียงราย
69
อบต.แม่อิง แม่อิง ภูกามยาว พะเยา
67
บ้านศรีดอนชัย ป่าแงะ ป่าแดด เชียงราย
65
บ้านห้วยปุก สะเนียน เมือง น่าน
65
บ้านผาเวียง ภูคา ปัว น่าน
64
สถานีสูบน้ำพระโขนง พระโขนง คลองเตย กรุงเทพมหานคร
63
บ้านแม่สะแลบ แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
62
บ้านหัวฝาย บ้านดู่ เมืองเชียงราย เชียงราย
60
อบต.เวียง เวียง ฝาง เชียงใหม่
59
สถานีสูบน้ำคลองเตย คลองเตย คลองเตย กรุงเทพมหานคร
58
บ้านแม่มอญ ห้วยชมภู เมืองเชียงราย เชียงราย
58
บ้านสา ทุ่งกล้วย ภูซาง พะเยา
58
บ้านหนองปลา เชียงกลาง เชียงกลาง น่าน
57
สถานีวัดระดับน้ำ-น้ำฝน คลองประเวศบุรีรมย์ ตอนวัดขจรศิริ ลาดกระบัง ลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
56
บ้านบ่อหยวกใต้ บ่อเกลือเหนือ บ่อเกลือ น่าน
55
แม่ระมาด แม่ระมาด แม่ระมาด ตาก
54
สถานีบึงหนองบอน หนองบอน ประเวศ กรุงเทพมหานคร
53
บ้านน้ำสอด และ ทุ่งช้าง น่าน
52
ทต.แม่สรวย แม่สรวย แม่สรวย เชียงราย
51
สถานีสูบน้ำคลองแสนแสบ ตอนคลองตัน คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร
51
บ้านห้วยเฮี่ยน โป่งน้ำร้อน ฝาง เชียงใหม่
51
บ้านงอบเหนือ งอบ ทุ่งช้าง น่าน
51
บ้านโป่งไฮ แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
51
สถานีสูบน้ำคลองเจ็ก บางจาก พระโขนง กรุงเทพมหานคร
50
24/7/2017
ทต.หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ แพร่
113
บ้านผาน้ำย้อย พญาแก้ว เชียงกลาง น่าน
100
บ้านฟากท่า แม่สำ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย
89
บ้านไฮ่ฮ้า บ้านด่านนาขาม เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
84
บ้านดอนงาม บ้านแซว เชียงแสน เชียงราย
84
ทต.ป่าแมต ป่าแมต เมืองแพร่ แพร่
81
บ้านปางยาง ภูคา ปัว น่าน
78
สะพานแม่แคม สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่
76
บ้านบุญแจ่ม น้ำเลา ร้องกวาง แพร่
72
ทต.ช่อแฮ ช่อแฮ เมืองแพร่ แพร่
71
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สูงเม่น สูงเม่น สูงเม่น แพร่
70
บ้านปางเคาะ ไทรย้อย เด่นชัย แพร่
70
บ้านส่องสี ห้วยมุ่น น้ำปาด อุตรดิตถ์
70
บ้านขุนฝาง ขุนฝาง เมืองอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
68
ทต.น้ำปาด แสนตอ น้ำปาด อุตรดิตถ์
67
ชุมชนห้วยไร่ ห้วยไร่ เด่นชัย แพร่
67
บ้านห้วยฮ่อมพัฒนา บ้านเวียง ร้องกวาง แพร่
66
อบต.บ้านกลาง บ้านกลาง สอง แพร่
66
บ้านน้ำลี น้ำหมัน ท่าปลา อุตรดิตถ์
65
อบต.นาโพธิ์กลาง นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี
64
ทต.เด่นชัย เด่นชัย เด่นชัย แพร่
62
บ้านกลาง เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา
61
บ้านปากกลาย ป่าแดง เมืองแพร่ แพร่
59
บ้านหลวง แม่งอน ฝาง เชียงใหม่
59
บ้านน้ำพิ ทุ่งช้าง ทุ่งช้าง น่าน
59
อบต.ร้องกวาง ร้องกวาง ร้องกวาง แพร่
58
บ้านแม่พวก ห้วยไร่ เด่นชัย แพร่
58
นาตาล พะลาน นาตาล อุบลราชธานี
58
บ้านห้วยหาน ปอ เวียงแก่น เชียงราย
58
บ้านกิ่วเคียน จริม ท่าปลา อุตรดิตถ์
57
บ้านข่วงชมภู เตาปูน สอง แพร่
57
บ้านห้วยใหญ่ นาสัก สวี ชุมพร
57
อบต.ในเมือง ในเมือง พิชัย อุตรดิตถ์
57
บ้านบางพรวด ลำเลียง กระบุรี ระนอง
57
ม.ราม อำนาจเจริญ แมด ลืออำนาจ อำนาจเจริญ
56
บ้านนากึ๋น บ่อเกลือเหนือ บ่อเกลือ น่าน
56
บ้านสันติสุข เวียงต้า ลอง แพร่
56
ทต.เชียงม่วน เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา
55
ระเว ระเว พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี
55
บ้านห้วยน้ำใส ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง
54
บ้านน้ำต๊ะ น้ำหมัน ท่าปลา อุตรดิตถ์
54
บ้านตาดควัน ป่าซาง เวียงเชียงรุ้ง เชียงราย
53
บ้านลำเลียง ลำเลียง กระบุรี ระนอง
53
บ้านดอยชมภู โป่งแพร่ แม่ลาว เชียงราย
52
บ้านหินขาว กะเปอร์ กะเปอร์ ระนอง
52
บ้านเขานางหงษ์ ปากน้ำ เมืองระนอง ระนอง
51
บ้านหินลูกช้าง ละแม ละแม ชุมพร
51
บ้านปางริมกรณ์ แม่กรณ์ เมืองเชียงราย เชียงราย
51
บ้านน้ำกุ่ม น้ำกุ่ม นครไทย พิษณุโลก
50
บ้านคลองของ ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง
50
25/7/2017
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี
150
บ้านโรงกลวง นบปริง เมืองพังงา พังงา
117
บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
116
บ้านหัวเรือ หนองเหล่า ม่วงสามสิบ อุบลราชธานี
112
บ้านทุ่งปี้ ทุ่งฮั้ว วังเหนือ ลำปาง
99
บ้านคีรีรัตน์ เข็กน้อย เขาค้อ เพชรบูรณ์
97
ห้วยแร้ง ห้วยแร้ง เมืองตราด ตราด
96
ตระการพืชผล กระเดียน ตระการพืชผล อุบลราชธานี
90
บ้านดอนหว่าน ดอนหว่าน เมืองมหาสารคาม มหาสารคาม
89
สะพานข้ามลำเซบก ท่าเมือง ดอนมดแดง อุบลราชธานี
85
หนองผือ หนองผือ เขมราฐ อุบลราชธานี
85
บ้านวังนาใน ลิพัง ปะเหลียน ตรัง
84
แคนดง แคนดง แคนดง บุรีรัมย์
83
ทุ่งศรีอุดม โคกชำแระ ทุ่งศรีอุดม อุบลราชธานี
82
บ้านผาชัน สำโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี
81
บ้านเหมาะ (บ้านในหนด) เหมาะ กะปง พังงา
80
น้ำยืน สีวิเชียร น้ำยืน อุบลราชธานี
79
บ้านแก้ง แก้ง เดชอุดม อุบลราชธานี
78
บ้านหนองลุง กำแพง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ
78
บ้านท่าหัน รมณีย์ กะปง พังงา
77
นาตาล พะลาน นาตาล อุบลราชธานี
71
อบต.หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ นาเชือก มหาสารคาม
71
บ้านตาบาด บ่อพลอย บ่อไร่ ตราด
71
บ้านดอกแดง บางสวรรค์ พระแสง สุราษฎร์ธานี
71
ม.ราม อำนาจเจริญ แมด ลืออำนาจ อำนาจเจริญ
71
หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด
69
ระเว ระเว พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี
69
บ้านสวนส้ม เขาล้าน ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ์
69
โรงฆ่าสัตว์ ทม.สวรรคโลก เมืองสวรรคโลก สวรรคโลก สุโขทัย
68
ทต.ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
67
อบต.นาโพธิ์กลาง นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี
66
อบต.โนนแดง โนนแดง บรบือ มหาสารคาม
65
บ้านนายม นาหมอม้า เมืองอำนาจเจริญ อำนาจเจริญ
65
ดอนตาล ป่าไร่ ดอนตาล มุกดาหาร
63
เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย ร้อยเอ็ด
63
บ้านแม่มิงค์ ช่างเคิ่ง แม่แจ่ม เชียงใหม่
63
อบต.บางวัน บางวัน คุระบุรี พังงา
61
โนนปูน สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ
60
บ้านบางตง นบปริง เมืองพังงา พังงา
59
บ้านหัวน้ำ พระธาตุ เชียงกลาง น่าน
58
บ้านช้างเชื่อ เหมาะ กะปง พังงา
58
บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง  เกาะช้าง ตราด
58
บ้านแม่กำปอง ห้วยแก้ว แม่ออน เชียงใหม่
58
บ้านนาแคน บ้านแมด บุณฑริก อุบลราชธานี
57
อนุบาลร้อยเอ็ด รอบเมือง เมืองร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด
55
บ้านเมืองปอน เมืองปอน ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
55
อบต.หนองหมื่นถ่าน หนองหมื่นถ่าน อาจสามารถ ร้อยเอ็ด
55
บ้านจารย์ บ้านชบ สังขะ สุรินทร์
54
บ้านท่าหินส้ม เมืองปอน ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
54
บ้านห้วยยาโน ป่าตึง แม่จัน เชียงราย
54
โกสุมพิสัย แห่ใต้ โกสุมพิสัย มหาสารคาม
53
บ้านห้วยผอก น้ำอ้อม กันทรลักษ์ ศรีสะเกษ
52
ทต.เด่นชัย เด่นชัย เด่นชัย แพร่
51
บ้านปางสา ป่าตึง แม่จัน เชียงราย
51
บ้านบางหลาโอน คึกคัก ตะกั่วป่า พังงา
51
บ้านสลักเพชรเหนือ เกาะช้างใต้  เกาะช้าง ตราด
51
บ้านทุ่งกราด หนองบอน บ่อไร่ ตราด
51
26/7/2017
พล โนนข่า พล ขอนแก่น
186
อบต.หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ นาเชือก มหาสารคาม
169
เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย ร้อยเอ็ด
124
อบต.โนนแดง โนนแดง บรบือ มหาสารคาม
118
บ้านลำเลียง ลำเลียง กระบุรี ระนอง
117
บ้านนายม นาหมอม้า เมืองอำนาจเจริญ อำนาจเจริญ
115
บ้านทุ่งยาว ห้วยยั้ง พรานกระต่าย กำแพงเพชร
113
คง เมืองคง คง นครราชสีมา
106
ชุมชนซอยสิบเอ็ด ท่าข้าม ท่าแซะ ชุมพร
104
อบต.หนองหมื่นถ่าน หนองหมื่นถ่าน อาจสามารถ ร้อยเอ็ด
101
โกสุมพิสัย แห่ใต้ โกสุมพิสัย มหาสารคาม
100
ทุ่งนางโอก นาสะไมย์ เมืองยโสธร ยโสธร
92
นาคู นาคู นาคู กาฬสินธุ์
91
บ้านไร่พัฒนา บ้านไร่ เทพสถิต ชัยภูมิ
90
บ้านห้วยใหญ่ นาสัก สวี ชุมพร
89
ชุมชนจุมจัง จุมจัง กุฉินารายณ์ กาฬสินธุ์
87
อนุบาลร้อยเอ็ด รอบเมือง เมืองร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด
86
นาตาล พะลาน นาตาล อุบลราชธานี
85
นาหนองไผ่ นาหนองไผ่ ชุมพลบุรี สุรินทร์
84
บ้านในง่วม วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร
84
อบต.บ้านไผ่ ในเมือง บ้านไผ่ ขอนแก่น
82
ดอนตาล ป่าไร่ ดอนตาล มุกดาหาร
82
แคนดง แคนดง แคนดง บุรีรัมย์
79
ช่องสามหมอ นาหนองทุ่ม แก้งคร้อ ชัยภูมิ
77
เทพสถิต โคกเพชรพัฒนา บำเหน็จณรงค์ ชัยภูมิ
76
บ้านช่องบอน เขาทะลุ สวี ชุมพร
76
บ้านห้วยยางดง โคกเครือ หนองกุงศรี กาฬสินธุ์
75
บ้านแม่เตินเหนือ แม่ถอด เถิน ลำปาง
74
บ้านวังพุง หินแก้ว ท่าแซะ ชุมพร
73
ชุมพร ชุมพร เมยวดี ร้อยเอ็ด
73
อบต.ป่าแดง ป่าแดง ชาติตระการ พิษณุโลก
71
บ้านโป่งไทร ลำสมพุง มวกเหล็ก สระบุรี
71
บ้านน้ำชล เขาทะลุ สวี ชุมพร
70
บ้านดวงดี สลุย ท่าแซะ ชุมพร
69
บ้านแปะ บ้านแปะ จอมทอง เชียงใหม่
68
บ้านดงบัง มหาไชย สมเด็จ กาฬสินธุ์
66
บ้านบางเจริญ ห้วยทราย เมืองประจวบคีรีขัน ประจวบคีรีขันธ์
66
บ้านพรรั้ง บางริ้น เมืองระนอง ระนอง
65
บ้านทุ่งสมอ ทุ่งสมอ เขาค้อ เพชรบูรณ์
64
พัทยาสอง หนองกุงธนสาร ภูเวียง ขอนแก่น
62
บ้านปากแพรก นากระตาม ท่าแซะ ชุมพร
62
บ้านโป่งบอน หงษ์เจริญ ท่าแซะ ชุมพร
61
บ้านดอนหว่าน ดอนหว่าน เมืองมหาสารคาม มหาสารคาม
61
ภูพาน กกปลาซิว ภูพาน สกลนคร
61
บ้านโจะโหวะเหนือ บ้านเนิน หล่มเก่า เพชรบูรณ์
60
บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด
58
บ้านวังทอง ทะเลทรัพย์ ปะทิว ชุมพร
58
บ้านดงแหลม หมูม่น สมเด็จ กาฬสินธุ์
56
บ้านเนินสำลี (ควน) สะพลี ปะทิว ชุมพร
56
บ้านหนองปลา ท่าหิน สวี ชุมพร
56
บ้านบางพรวด ลำเลียง กระบุรี ระนอง
55
บ้านห้วยคอม น้ำไผ่ น้ำปาด อุตรดิตถ์
55
ทต.ขาณุวรลักษณ์บุรี ป่าพุทรา ขาณุวรลักษบุรี กำแพงเพชร
54
ทต.เนินมะปราง เนินมะปราง เนินมะปราง พิษณุโลก
54
บ้านควนสามัคคี วิสัยใต้ สวี ชุมพร
54
ชุมชนโป่งแดง โป่งแดง เมืองตาก ตาก
53
บ้านซับเปิป ซับเปิบ วังโป่ง เพชรบูรณ์
53
บ้านนาโพธิ์ เหล่าน้อย เสลภูมิ ร้อยเอ็ด
52
อบต.แจ้ห่ม แจ้ห่ม แจ้ห่ม ลำปาง
51
อ่างเก็บน้ำแม่อาบ นาโป่ง เถิน ลำปาง
51
บ้านหนองจรเข้ นาชะอัง เมืองชุมพร ชุมพร
51
คำอาฮวน ศรีบุญเรือง เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร
50
บ้านแม่เตาดิน ห้วยแก้ว แม่ออน เชียงใหม่
50
27/7/2017
ท่าแร่ นาเพียง กุสุมาลย์ สกลนคร
128
ชุมชนจุมจัง จุมจัง กุฉินารายณ์ กาฬสินธุ์
119
ม.ราม อำนาจเจริญ แมด ลืออำนาจ อำนาจเจริญ
113
บ้านดงบัง มหาไชย สมเด็จ กาฬสินธุ์
113
บ้านลำเลียง ลำเลียง กระบุรี ระนอง
113
บ้านบัว สว่าง พรรณานิคม สกลนคร
108
บ้านหนองจรเข้ นาชะอัง เมืองชุมพร ชุมพร
99
นาคู นาคู นาคู กาฬสินธุ์
98
บ้านหนองตำเสา วิสัยเหนือ เมืองชุมพร ชุมพร
97
บ้านโนนสว่าง คำชะอี คำชะอี มุกดาหาร
90
บ้านในง่วม วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร
88
โนนภูทอง วังทอง นาวัง หนองบัวลำภู
85
บ้านข่วงชมภู เตาปูน สอง แพร่
84
ชุมพร ชุมพร เมยวดี ร้อยเอ็ด
84
บ้านปากแพรก นากระตาม ท่าแซะ ชุมพร
82
บ้านดงแหลม หมูม่น สมเด็จ กาฬสินธุ์
81
บ้านวังพุง หินแก้ว ท่าแซะ ชุมพร
80
อบต.หนองหมื่นถ่าน หนองหมื่นถ่าน อาจสามารถ ร้อยเอ็ด
76
ทุ่งนางโอก นาสะไมย์ เมืองยโสธร ยโสธร
74
บ้านนายม นาหมอม้า เมืองอำนาจเจริญ อำนาจเจริญ
73
นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน สกลนคร
69
ภูพาน กกปลาซิว ภูพาน สกลนคร
69
บ้านห้วยน้ำใส ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง
68
บ้านเนินสำลี (ควน) สะพลี ปะทิว ชุมพร
67
บ้านปางเคาะ ไทรย้อย เด่นชัย แพร่
65
บ้านพรรั้ง บางริ้น เมืองระนอง ระนอง
63
บ้านเสียบญวน วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร
63
บ้านเพีย ท่าสะอาด นาด้วง เลย
62
บ้านกลาง เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา
61
เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร
59
โรงพยาบาลระนอง บางริ้น เมืองระนอง ระนอง
58
บ้านห้วยม่วง สานตม ภูเรือ เลย
58
หนองผือ หนองผือ เขมราฐ อุบลราชธานี
57
ทต.เชียงม่วน เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา
56
ท่าไม้ลาย วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร
56
นาตาล พะลาน นาตาล อุบลราชธานี
54
นาซ่าว นาซ่าว เชียงคาน เลย
54
สะพานข้ามคลองเกรียงไกร บางเคียน ชุมแสง นครสวรรค์
54
บ้านนาคำ (หมู่ 6) บ้านก้อง นายูง อุดรธานี
54
บ้านพิทักษ์ไทย ตับเต่า เทิง เชียงราย
53
ด่านม่วงคำ เชียงสือ โพนนาแก้ว สกลนคร
53
อบต.บ้านกลาง บ้านกลาง สอง แพร่
53
หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่สอง เตาปูน สอง แพร่
53
บ้านหมากแข้ง หนองงิ้ว วังสะพุง เลย
53
บ้านควนสามัคคี วิสัยใต้ สวี ชุมพร
52
ชุมชนซอยสิบเอ็ด ท่าข้าม ท่าแซะ ชุมพร
51
บ้านวังนาใน ลิพัง ปะเหลียน ตรัง
51
บ้านผึ้ง บ้านผึ้ง เมืองนครพนม นครพนม
50
บ้านบางเจริญ ห้วยทราย เมืองประจวบคีรีขัน ประจวบคีรีขันธ์
50
บ้านห้วยใหญ่ นาสัก สวี ชุมพร
50
28/7/2017
แยกบ้านขาม ขัวก่าย วานรนิวาส สกลนคร
221
พังโคน ม่วงไข่ พังโคน สกลนคร
207
ท่าแร่ นาเพียง กุสุมาลย์ สกลนคร
153
บ้านดงเมือง กุมภวาปี กุมภวาปี อุดรธานี
151
บ้านโคกสี่ โคกสี สว่างแดนดิน สกลนคร
137
คำตากล้า คำตากล้า คำตากล้า สกลนคร
121
บ้านซำบุ่น ศิลา หล่มเก่า เพชรบูรณ์
118
บ้านปากอูน ศรีสงคราม ศรีสงคราม นครพนม
118
บ้านเชียง บ้านเชียง หนองหาน อุดรธานี
104
บ้านกลาง ศิลา หล่มเก่า เพชรบูรณ์
104
บ้านทรายทอง หนองกวั่ง บ้านม่วง สกลนคร
103
ทต.บะยาว บะยาว วังสามหมอ อุดรธานี
84
ภูพาน กกปลาซิว ภูพาน สกลนคร
80
นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน สกลนคร
79
อบต.ป่าแฝก ป่าแฝก พรเจริญ บึงกาฬ
78
บ้านอุมุง บุฮม เชียงคาน เลย
77
บ้านห้วยเย็น ปิงหลวง นาหมื่น น่าน
76
นาคู นาคู นาคู กาฬสินธุ์
71
บ้านอีเลิศใหม่ นาซำ หล่มเก่า เพชรบูรณ์
70
บ้านวังลาด ชนแดน ชนแดน เพชรบูรณ์
68
บ้านขุนตาน ทาปลาดุก แม่ทา ลำพูน
68
เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร
67
บ้านดุงเหนือ บ้านเหล่า เพ็ญ อุดรธานี
66
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ในเมือง เมืองหนองคาย หนองคาย
65
บ้านดงบัง มหาไชย สมเด็จ กาฬสินธุ์
64
บ้านใหม่พัฒนา แม่อูคอ ขุนยวม แม่ฮ่องสอน
63
ตลาดภูเรือ หนองบัว ภูเรือ เลย
61
ทต.นครไทย นครไทย นครไทย พิษณุโลก
59
กลางเมืองอุดร หมากแข้ง เมืองอุดรธานี อุดรธานี
59
บ้านดงแหลม หมูม่น สมเด็จ กาฬสินธุ์
58
บ้านนาโพธิ์ เหล่าน้อย เสลภูมิ ร้อยเอ็ด
56
อบต.ชนแดน ชนแดน ชนแดน เพชรบูรณ์
55
บ้านวังสงวน บ่อไทย หนองไผ่ เพชรบูรณ์
55
หนองนาง หนองนาง ท่าบ่อ หนองคาย
53
บ้านขุนคอง เมืองแหง เวียงแหง เชียงใหม่
52
บ้านทางแดง แคมป์สน เขาค้อ เพชรบูรณ์
51
อบต.วังทรายพูน วังทรายพูน วังทรายพูน พิจิตร
50
29/7/2017
แยกบ้านขาม ขัวก่าย วานรนิวาส สกลนคร
90
บ้านห้วยละเบ้ายา สะเนียน เมือง น่าน
83
บ้านหินขาว กะเปอร์ กะเปอร์ ระนอง
83
บ้านบัว สว่าง พรรณานิคม สกลนคร
81
บ้านปางสา จอมจันทร์ เวียงสา น่าน
81
คำตากล้า คำตากล้า คำตากล้า สกลนคร
78
บ้านทรายทอง หนองกวั่ง บ้านม่วง สกลนคร
72
ท่าแร่ นาเพียง กุสุมาลย์ สกลนคร
68
บ้านห้วยตม บ้านตึก ศรีสัชนาลัย สุโขทัย
64
สังคม สังคม สังคม หนองคาย
57
บ้านโคกสี่ โคกสี สว่างแดนดิน สกลนคร
54
บ้านเพิ่ม ธาตุ เชียงคาน เลย
51
บ้านปากอูน ศรีสงคราม ศรีสงคราม นครพนม
50
บ้านห้วยน้ำใส ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง
50
30/7/2017
บ้านลำเลียง ลำเลียง กระบุรี ระนอง
254
บ้านเหมาะ (บ้านในหนด) เหมาะ กะปง พังงา
189
บ้านผาหลัก ยอด สองแคว น่าน
73
บ้านแม่จอก แม่เกิ๋ง วังชิ้น แพร่
70
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี
57
บ้านท่าหัน รมณีย์ กะปง พังงา
54
บ้านโกตา กำแพง ละงู สตูล
51
บ้านช้างเชื่อ เหมาะ กะปง พังงา
51
บ้านดอกแดง บางสวรรค์ พระแสง สุราษฎร์ธานี
50
31/7/2017
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี
228
บ้านบางหลาโอน คึกคัก ตะกั่วป่า พังงา
182
บ้านโรงกลวง นบปริง เมืองพังงา พังงา
153
บ้านลำภี ลำภี ท้ายเหมือง พังงา
148
เขาตูม เขาตูม ยะรัง ปัตตานี
119
ชุมชนบ้านโคกพะยอม ละงู ละงู สตูล
96
บ้านบางตง นบปริง เมืองพังงา พังงา
88
บ้านท่าหัน รมณีย์ กะปง พังงา
77
บ้านช้างเชื่อ เหมาะ กะปง พังงา
77
บ้านโกตา กำแพง ละงู สตูล
76
บ้านพันวาล 4 รับร่อ ท่าแซะ ชุมพร
73
บ้านหินขาว กะเปอร์ กะเปอร์ ระนอง
68
บ้านท่าโต้ เขามีเกียรติ สะเดา สงขลา
66
บ้านบางกุ่ม กะปง กะปง พังงา
60
บ้านโตนปาหนัน ทุ่งนุ้ย ควนกาหลง สตูล
58
อบต.บางวัน บางวัน คุระบุรี พังงา
57
บ้านบูเก็ตยามู ควนโดน ควนโดน สตูล
52

หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมรายวันที่ตรวจวัดได้เกิน 50 มิลลิเมตร
สีแดง หมายถึง ปริมาณฝนสะสมรายวัน ที่เกิน 90 มิลลิเมตร (ฝนตกหนักมาก)


ปริมาณฝนสะสมในช่วงวันที่ 24-31 ก.ค. 60
       อิทธิพลของพายุ "เซินกา" (SONCA) ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักมากในหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยอิทธิพลของพายุเริ่มส่งผลให้เกิดฝนตกหนักบริเวณพื้นที่ด้านตะวันออกตอนล่างของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจากนั้นสถานการณ์ฝนตกหนักเริ่มแผ่กว้างไปถึงตอนกลางของภาค และกระจายสู่ตอนบนของภาคตามลำดับ สำหรับภาคตะวันออกมีฝนตกหนักกระจุกตัวเฉพาะที่บริเวณจังหวัดตราดและจันทบุรี ส่วนภาคใต้มีฝนตกหนักกระจุกตัวบริเวณจังหวัดชุมพร ระนอง พังงา สุราษฎร์ธานี รายละเอียดเพิ่มเติมดังภาพเคลื่อนไหว และตารางด้านล่าง

ภาพเคลื่อนไหวแสดงปริมาณฝนสะสมช่วงวันที่ 24-30 ก.ค. 60


ตารางแสดงปริมาณฝนสะสมช่วงวันที่ 24-31 ก.ค. 60

สถานี
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
ปริมาณฝนสะสม
24-31 ก.ค.60 (มม.) 
บ้านลำเลียง ลำเลียง กระบุรี ระนอง              578
บ้านสะพานนาค คลองศก พนม สุราษฎร์ธานี              475
ท่าแร่ นาเพียง กุสุมาลย์ สกลนคร              421
บ้านโรงกลวง นบปริง เมืองพังงา พังงา              383
บ้านเหมาะ (บ้านในหนด) เหมาะ กะปง พังงา              370
บ้านกลาง ศิลา หล่มเก่า เพชรบูรณ์              356
พังโคน ม่วงไข่ พังโคน สกลนคร              338
บ้านปางสา จอมจันทร์ เวียงสา น่าน              325
นาคู นาคู นาคู กาฬสินธุ์              317
แยกบ้านขาม ขัวก่าย วานรนิวาส สกลนคร              311
อบต.บางวัน บางวัน คุระบุรี พังงา              307
ม.ราม อำนาจเจริญ แมด ลืออำนาจ อำนาจเจริญ              306
บ้านดงเมือง กุมภวาปี กุมภวาปี อุดรธานี              305
บ้านบางหลาโอน คึกคัก ตะกั่วป่า พังงา              295
บ้านนายม นาหมอม้า เมืองอำนาจเจริญ อำนาจเจริญ              291
บ้านห้วยน้ำใส ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง              288
ภูพาน กกปลาซิว ภูพาน สกลนคร              285
บ้านดงบัง มหาไชย สมเด็จ กาฬสินธุ์              283
บ้านหินขาว กะเปอร์ กะเปอร์ ระนอง              283
นาตาล พะลาน นาตาล อุบลราชธานี              276
บ้านห้วยใหญ่ นาสัก สวี ชุมพร              275
บ้านท่าหัน รมณีย์ กะปง พังงา              271
บ้านช้างเชื่อ เหมาะ กะปง พังงา              271
อบต.หนองโพธิ์ หนองโพธิ์ นาเชือก มหาสารคาม              269
ชุมชนจุมจัง จุมจัง กุฉินารายณ์ กาฬสินธุ์              266
บ้านพรรั้ง บางริ้น เมืองระนอง ระนอง              265
บ้านบัว สว่าง พรรณานิคม สกลนคร              256
เต่างอย นาตาล เต่างอย สกลนคร              254
บ้านดงแหลม หมูม่น สมเด็จ กาฬสินธุ์              253
อบต.หนองหมื่นถ่าน หนองหมื่นถ่าน อาจสามารถ ร้อยเอ็ด              253
ชุมพร ชุมพร เมยวดี ร้อยเอ็ด              243
โรงพยาบาลระนอง บางริ้น เมืองระนอง ระนอง              243
พล โนนข่า พล ขอนแก่น              239
บ้านพรุข่า (บ้านด่าน) ละอุ่นใต้ ละอุ่น ระนอง              238
บ้านหลวง แม่งอน ฝาง เชียงใหม่              238
เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย เกษตรวิสัย ร้อยเอ็ด              235
นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน นิคมน้ำอูน สกลนคร              235
บ้านปากอูน ศรีสงคราม ศรีสงคราม นครพนม              234
บ้านลำภี ลำภี ท้ายเหมือง พังงา              233
บ้านปางยาง ภูคา ปัว น่าน              232
บ้านวังทอง ทะเลทรัพย์ ปะทิว ชุมพร              231
บ้านผาชัน สำโรง โพธิ์ไทร อุบลราชธานี              227
บ้านโคกสี่ โคกสี สว่างแดนดิน สกลนคร              225
บ้านเขานางหงษ์ ปากน้ำ เมืองระนอง ระนอง              224
คำตากล้า คำตากล้า คำตากล้า สกลนคร              219
บ้านน้ำชล เขาทะลุ สวี ชุมพร              218
บ้านดอกแดง บางสวรรค์ พระแสง สุราษฎร์ธานี              217
โกสุมพิสัย แห่ใต้ โกสุมพิสัย มหาสารคาม              215
บ้านบางหิน บางหิน กะเปอร์ ระนอง              214
ตระการพืชผล กระเดียน ตระการพืชผล อุบลราชธานี              213
บ้านในง่วม วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร              213
บ้านบางพรวด ลำเลียง กระบุรี ระนอง              213
บ้านห้วยแก้ว เขาค่าย สวี ชุมพร              210
ทุ่งนางโอก นาสะไมย์ เมืองยโสธร ยโสธร              209
บ้านหัวนา นาหินลาด ปากพลี นครนายก              203
อบต.โนนแดง โนนแดง บรบือ มหาสารคาม              203
บ้านสันติสุข เวียงต้า ลอง แพร่              198
คำอาฮวน ศรีบุญเรือง เมืองมุกดาหาร มุกดาหาร              198
หนองผือ หนองผือ เขมราฐ อุบลราชธานี              195
อบต.นาโพธิ์กลาง นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี              195
แคนดง แคนดง แคนดง บุรีรัมย์              194
บ้านทรายทอง หนองกวั่ง บ้านม่วง สกลนคร              194
บ้านหนองลุง กำแพง อุทุมพรพิสัย ศรีสะเกษ              191
ชุมชนซอยสิบเอ็ด ท่าข้าม ท่าแซะ ชุมพร              190
บ้านด่านชุมพล ด่านชุมพล บ่อไร่ ตราด              190
บ้านทุ่งยาว ห้วยยั้ง พรานกระต่าย กำแพงเพชร              187
บ้านบางตง นบปริง เมืองพังงา พังงา              185
บ้านคลองของ ราชกรูด เมืองระนอง ระนอง              184
บ้านวังนาใน ลิพัง ปะเหลียน ตรัง              182
ระเว ระเว พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี              182
บ้านโนนสว่าง คำชะอี คำชะอี มุกดาหาร              181
บ้านผาน้ำย้อย พญาแก้ว เชียงกลาง น่าน              181
อบต.ป่าแดง ป่าแดง ชาติตระการ พิษณุโลก              180
ดอนตาล ป่าไร่ ดอนตาล มุกดาหาร              180
บ้านบางนอนใน บางนอน เมืองระนอง ระนอง              178
บ้านหนองปลา ท่าหิน สวี ชุมพร              178
บ้านใหม่พัฒนา แม่อูคอ ขุนยวม แม่ฮ่องสอน              173
อบต.บ้านไผ่ ในเมือง บ้านไผ่ ขอนแก่น              173
บ้านวังพุง หินแก้ว ท่าแซะ ชุมพร              172
บ้านหนองตำเสา วิสัยเหนือ เมืองชุมพร ชุมพร              172
บ้านดอนหว่าน ดอนหว่าน เมืองมหาสารคาม มหาสารคาม              171
บ้านอุมุง บุฮม เชียงคาน เลย              171
ทต.เนินมะปราง เนินมะปราง เนินมะปราง พิษณุโลก              170
สังคม สังคม สังคม หนองคาย              169
บ้านเนินทอง ในวงใต้ ละอุ่น ระนอง              168
บ้านเชียง บ้านเชียง หนองหาน อุดรธานี              168
ทต.บะยาว บะยาว วังสามหมอ อุดรธานี              167
อนุบาลร้อยเอ็ด รอบเมือง เมืองร้อยเอ็ด ร้อยเอ็ด              167
บ้านนาโพธิ์ เหล่าน้อย เสลภูมิ ร้อยเอ็ด              166
บ้านบางซอย คุระ คุระบุรี พังงา              163
บ้านปางเคาะ ไทรย้อย เด่นชัย แพร่              163
ชุมชนบ้านโคกพะยอม ละงู ละงู สตูล              163
อบต.วังทรายพูน วังทรายพูน วังทรายพูน พิจิตร              162
บ้านควนสามัคคี วิสัยใต้ สวี ชุมพร              159
บ้านคีรีรัตน์ เข็กน้อย เขาค้อ เพชรบูรณ์              159
บ้านหนองจรเข้ นาชะอัง เมืองชุมพร ชุมพร              159
บ้านไร่พัฒนา บ้านไร่ เทพสถิต ชัยภูมิ              157
บ้านช่องบอน เขาทะลุ สวี ชุมพร              157
บ้านแม่จอก แม่เกิ๋ง วังชิ้น แพร่              157
บ้านข่วงชมภู เตาปูน สอง แพร่              156
บ้านปากแพรก นากระตาม ท่าแซะ ชุมพร              154
สะพานข้ามลำเซบก ท่าเมือง ดอนมดแดง อุบลราชธานี              154
บ้านแพะดอนมูล สรอย วังชิ้น แพร่              154
บ้านหัวน้ำ พระธาตุ เชียงกลาง น่าน              153
บ้านห้วยยางดง โคกเครือ หนองกุงศรี กาฬสินธุ์              150
ทต.เด่นชัย เด่นชัย เด่นชัย แพร่              149
สังขละบุรี หนองลู สังขละบุรี กาญจนบุรี              149
บ้านโกตา กำแพง ละงู สตูล              148
บ้านห้วยไคร้ ดงคู่ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย              148
พัทยาสอง หนองกุงธนสาร ภูเวียง ขอนแก่น              147
ทต.น้ำปาด แสนตอ น้ำปาด อุตรดิตถ์              146
บ้านซำบุ่น ศิลา หล่มเก่า เพชรบูรณ์              146
บ้านสวนส้ม เขาล้าน ทับสะแก ประจวบคีรีขันธ์              145
บ้านห้วยคอม น้ำไผ่ น้ำปาด อุตรดิตถ์              145
บ้านห้วยตม บ้านตึก ศรีสัชนาลัย สุโขทัย              145
บ้านคลองแรด แหลมสัก อ่าวลึก กระบี่              145
บ้านป่ากล้วย สถาน นาน้อย น่าน              144
บ้านฟากท่า แม่สำ ศรีสัชนาลัย สุโขทัย              143
โนนภูทอง วังทอง นาวัง หนองบัวลำภู              143
คง เมืองคง คง นครราชสีมา              143
ที่ทำการหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ ลป.๔ (น้ำตกโตนไพร) ท้ายเหมือง ท้ายเหมือง พังงา              142
ทุ่งศรีอุดม โคกชำแระ ทุ่งศรีอุดม อุบลราชธานี              141
บ้านบางกุ่ม กะปง กะปง พังงา              141
บ้านพันวาล 4 รับร่อ ท่าแซะ ชุมพร              141
หนองนาง หนองนาง ท่าบ่อ หนองคาย              140
บ้านในแจะ ปากทรง พะโต๊ะ ชุมพร              140
จอมพระ บ้านผือ จอมพระ สุรินทร์              140
บ้านบ่อหยวกใต้ บ่อเกลือเหนือ บ่อเกลือ น่าน              140
บ้านบางเจริญ ห้วยทราย เมืองประจวบคีรีขันธ์ ประจวบคีรีขันธ์              139
ทต.ขุนยวม ขุนยวม ขุนยวม แม่ฮ่องสอน              139
ด่านม่วงคำ เชียงสือ โพนนาแก้ว สกลนคร              139
ห้วยแร้ง ห้วยแร้ง เมืองตราด ตราด              138
หาดทับทิม แหลมกลัด เมืองตราด ตราด              138
นาหนองไผ่ นาหนองไผ่ ชุมพลบุรี สุรินทร์              138
บ้านดวงดี สลุย ท่าแซะ ชุมพร              138
บ้านโป่งบอน หงษ์เจริญ ท่าแซะ ชุมพร              138
บ้านส่องสี ห้วยมุ่น น้ำปาด อุตรดิตถ์              138
บ้านผาเวียง ภูคา ปัว น่าน              137
บ้านพระรัก พะโต๊ะ พะโต๊ะ ชุมพร              137
บ้านหัวเรือ หนองเหล่า ม่วงสามสิบ อุบลราชธานี              137
บ้านปางคอม บ่อเบี้ย บ้านโคก อุตรดิตถ์              136
หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำดอยกาด ผาช้างน้อย ปง พะเยา              136
อบต.บ้านกลาง บ้านกลาง สอง แพร่              135
ที่ทำการน้ำตกนางรอง หินตั้ง เมืองนครนายก นครนายก              135
บ้านขุนห้วย แม่พุง วังชิ้น แพร่              135
บ้านซับเปิป ซับเปิบ วังโป่ง เพชรบูรณ์              135
บ้านหนองบอน หนองบอน บ่อไร่ ตราด              135
อบต.นากอก นากอก ศรีบุญเรือง หนองบัวลำภู              134
บ้านทุ่งปี้ ทุ่งฮั้ว วังเหนือ ลำปาง              133
เทพสถิต โคกเพชรพัฒนา บำเหน็จณรงค์ ชัยภูมิ              132
บ้านจำปุย บังหวาน พะโต๊ะ ชุมพร              131
อบต.ชนแดน ชนแดน ชนแดน เพชรบูรณ์              130
นาซ่าว นาซ่าว เชียงคาน เลย              129
ท่าไม้ลาย วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร              129
โรงเรียนปทุมเทพวิทยาคาร ในเมือง เมืองหนองคาย หนองคาย              129
บ้านตาบาด บ่อพลอย บ่อไร่ ตราด              129
บ้านเนินสำลี (ควน) สะพลี ปะทิว ชุมพร              129
บ้านรุ่งเรือง ละแม ละแม ชุมพร              129
ทต.หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ หนองม่วงไข่ แพร่              128
ทต.ป่าแมต ป่าแมต เมืองแพร่ แพร่              128
บ้านเสรีราษฎร์ ช่องแคบ พบพระ ตาก              128
บ้านวังลาด ชนแดน ชนแดน เพชรบูรณ์              127
บ้านทางแดง แคมป์สน เขาค้อ เพชรบูรณ์              126
อบต.ป่าแฝก ป่าแฝก พรเจริญ บึงกาฬ              124
บ้านปาล์มทองพัฒนา ฉลุง หาดใหญ่ สงขลา              124
บ้านคลองพร้าว เกาะช้าง  เกาะช้าง ตราด              123
บ้านทุ่งกราด หนองบอน บ่อไร่ ตราด              123
สามสวน บ้านแท่น บ้านแท่น ชัยภูมิ              123
บ้านนากึ๋น บ่อเกลือเหนือ บ่อเกลือ น่าน              123
ทต.เชียงม่วน เชียงม่วน เชียงม่วน พะเยา              122
บ้านโจะโหวะเหนือ บ้านเนิน หล่มเก่า เพชรบูรณ์              121
บ้านห้วยละเบ้ายา สะเนียน เมือง น่าน              121
โนนปูน สุขสวัสดิ์ ไพรบึง ศรีสะเกษ              120
บ้านขุนกำลัง ควร ปง พะเยา              120
ช่องสามหมอ นาหนองทุ่ม แก้งคร้อ ชัยภูมิ              119
บ้านเสียบญวน วังใหม่ เมืองชุมพร ชุมพร              119
เขาตูม เขาตูม ยะรัง ปัตตานี              119
บ้านผาหลัก ยอด สองแคว น่าน              119
บ้านโป่งไทร ลำสมพุง มวกเหล็ก สระบุรี              118
บ้านอีเลิศใหม่ นาซำ หล่มเก่า เพชรบูรณ์              118
บ้านโตนดห้าต้น นาพญา หลังสวน ชุมพร              118
ทต.ช่อแฮ ช่อแฮ เมืองแพร่ แพร่              117
บ้านนาหนุน ภูซาง ภูซาง พะเยา              116
อบต.ร้องกวาง ร้องกวาง ร้องกวาง แพร่              115
บ้านเมืองปอน เมืองปอน ขุนยวม แม่ฮ่องสอน              115
ธาตุ ธาตุ รัตนบุรี สุรินทร์              114
บ้านดุงเหนือ บ้านเหล่า เพ็ญ อุดรธานี              114
บ้านหัวตะกร้า บ้านปิน ลอง แพร่              113
บ้านร่องไผ่ โคกใหญ่ ท่าลี่ เลย              113
บ้านสลักเพชรเหนือ เกาะช้างใต้  เกาะช้าง ตราด              113
อบต.ในเมือง ในเมือง พิชัย อุตรดิตถ์              112
หน่วยศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ต้นน้ำแม่สอง เตาปูน สอง แพร่              112
บ้านโป่งน้ำร้อน แม่เจดีย์ใหม่ เวียงป่าเป้า เชียงราย              112
สตอ สะตอ เขาสมิง ตราด              111
บ้านน้ำลี น้ำหมัน ท่าปลา อุตรดิตถ์              111
บ้านผึ้ง บ้านผึ้ง เมืองนครพนม นครพนม              110
บ้านห้วยน้ำนัก พบพระ พบพระ ตาก              110
บ้านหินลูกช้าง ละแม ละแม ชุมพร              110
บ้านเขาแงน นาขา หลังสวน ชุมพร              110
บ้านทุ่งสมอ ทุ่งสมอ เขาค้อ เพชรบูรณ์              110
บ้านหมากแข้ง หนองงิ้ว วังสะพุง เลย              110
บ้านเกี๋ยงพา ต้าผามอก ลอง แพร่              109
บ้านโป่ง นาแขม เมืองเลย เลย              108
บ้านแก้ง แก้ง เดชอุดม อุบลราชธานี              108
น้ำยืน สีวิเชียร น้ำยืน อุบลราชธานี              107
บ้านขุนตาน ทาปลาดุก แม่ทา ลำพูน              107
บ้านโตนปาหนัน ทุ่งนุ้ย ควนกาหลง สตูล              107
บ้านปางตอง แม่อูคอ ขุนยวม แม่ฮ่องสอน              107
บ้านน้ำกุ่ม น้ำกุ่ม นครไทย พิษณุโลก              107
บ้านบุญแจ่ม น้ำเลา ร้องกวาง แพร่              107
คำปลาหลาย บ้านดง อุบลรัตน์ ขอนแก่น              105
บ้านเพีย ท่าสะอาด นาด้วง เลย              105
บ้านปางมะโอ ผาช้างน้อย ปง พะเยา              105
ทต.หย่วน หย่วน เชียงคำ พะเยา              104
บ้านไผ่แพะ เมืองมาย แจ้ห่ม ลำปาง              104
บ้านพิทักษ์ไทย ตับเต่า เทิง เชียงราย              104
อบต.ห้วยมุ่น ห้วยมุ่น น้ำปาด อุตรดิตถ์              103
บ้านนาคำ (หมู่ 6) บ้านก้อง นายูง อุดรธานี              103
บ้านสะโทย วังสรรพรส ขลุง จันทบุรี              103
บ้านแม่มิงค์ ช่างเคิ่ง แม่แจ่ม เชียงใหม่              102
ห้วยราช ห้วยราช ห้วยราช บุรีรัมย์              102
บ้านยางครก ยางเปียง อมก๋อย เชียงใหม่              102
บ้านสันต้นเปา แม่เงิน เชียงแสน เชียงราย              102
สะพานน้ำม่าว ปง ปง พะเยา              101
สะพานแม่แคม สวนเขื่อน เมืองแพร่ แพร่              101
บ้านห้วยเหรียง กระบี่น้อย เมือง กระบี่              101
บ้านนาแค นาแค นายูง อุดรธานี              100
บ้านห้วยตาสิงห์ บ้านควน หลังสวน ชุมพร              100

หมายเหตุ : รายงานเฉพาะปริมาณฝนสะสมที่ตรวจวัดได้เกิน 100 มิลลิเมตร
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://watersituation.thaiwater.net/v1/public/report





 ข้อมูลโดย : NARVAL, GSMaP

          จากแผนภาพแสดงปริมาณฝนสะสมรายวันจากสถาบันวิจัยทหารเรืออเมริกา (NARVAL) พบว่าอิทธิพลจากพายุ "เซินกา" (SONCA) ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักตั้งแต่วันที่ 25 ก.ค. 60 โดยเริ่มจากทางด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจากนั้นกลุ่มฝนเริ่มขยายปกคลุมเกือบทุกพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและในบางพื้นที่ของภาคเหนือในช่วงวันที่ 26-27 ก.ค. 60 และในวันที่ 28 ก.ค. 60 กลุ่มฝนตกหนักได้เลื่อนขึ้นไปปกคลุมบริเวณตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และปริมาณฝนเริ่มลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงวันที่ 30-31 ก.ค. 60 นอกจากนี้อิทธิพลของพายุยังส่งผลทำให้มรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังแรงขึ้น ส่งผลทำให้มีฝนเพิ่มขึ้นในพื้นที่ภาคใต้ในช่วงวันที่ 25-27 ก.ค. 60


24/7/60 1200z

25/7/60 1200z

26/7/60 1200z

27/7/60 1200z

28/7/60 1200z

29/7/60 1200z

30/7/60 1200z

31/7/60 1200z

mm.
ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/show_ssta.php


         แผนภาพแสดงข้อมูลปริมาณฝนสะสมรายวันจากดาวเทียม GSMaP ที่ผ่านการปรับค่าความเอนเอียงแล้ว แสดงให้เห็นว่า
อิทธิพลของพายุ "เซินกา" (SONCA) ส่งผลให้มีฝนตกหนักในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกลุ่มฝนได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ทางด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี ในวันที่ 24 ก.ค. 60 และแผ่ขขยายครอบคลุมไปถึงตอนกลางของภาคในช่วงวันที่ 25-27 ก.ค. 60 หลังจากนั้นได้เคลื่อนตัวขึ้นสู่ตอนบนของภาคในช่วงวันที่ 28-29 ก.ค. 60 นอกจากนี้อิทธิพลของพายุยังส่งผลโดยอ้อมทำให้มีฝนตกหนักทางด้านตะวันตกของภาคใต้ในช่วงวันที่ 26-27 ก.ค. 60


24/7/60

25/7/60

26/7/60

27/7/60

28/7/60

29/7/60

30/7/60

31/7/60

แผนที่แสดงการกระจายตัวของฝนในเดือนกรกฎาคม 2560 เทียบกับค่าปกติ

เดือนกรกฎาคม 2560 ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากพายุถึง 2 ลูก คือ พายุโซนร้อน "ตาลัส" (TALAS) ในช่วงกลางเดือน และพายุ "เซินกา" (SONCA) ในช่วงปลายเดือน ส่งผลทำให้ปริมาณฝนสะสมของเดือนนี้สูงถึง 289 มิลลิเมตร ซึ่งสูงกว่าปกติ 100 มิลลิเมตร หรือประมาณ 53% โดยเฉพาะพื้นที่ตอนบนของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก






 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

         จากรายงานการส่ง SMS เพื่อเตือนภัยปริมาณฝนช่วงวันที่ 24-31 ก.ค. 60 พบว่ามีการเตือนภัยพายุ เขื่อน และปริมาณฝนในบริเวณที่เกิดฝนตกหนัก ทั้งในระดับการเฝ้าระวังสูงสุดและระดับวิกฤต จำนวนทั้งสิ้น 129 ครั้ง โดยมีการเตือนภัยในระดับเฝ้าระวังสูงสุด จำนวน 78 ครั้ง ระดับวิกฤต 51 ครั้ง และหากแบ่งตามประเภทข้อมูล มีการเตือนภัยพายุที่จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทย จำนวน 1 ครั้ง เตือนภัยปริมาณน้ำในเขื่อน 3 ครั้ง และเตือนภัยปริมาณฝน 125 ครั้ง รายละเอียดดังกราฟและตารางด้านล่าง


วันที่
เวลา
ช่วงเวลาฝนสะสม
ตำบล/สถานี
จังหวัด
ปริมาณฝน(มม.) 
ระดับการเตือนภัย
31/7/2017 7:00:00 ฝน3วัน ต.ขัวก่าย จ.สกลนคร        311
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาเพียง จ.สกลนคร        238
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร        258
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.คำตากล้า จ.สกลนคร        199
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองกวั่ง จ.สกลนคร        186
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ศรีสงคราม จ.นครพนม        171
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.กุมภวาปี จ.อุดรธานี        183
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.บ้านเชียง จ.อุดรธานี        153
เฝ้าระวังสูงสุด
30/7/2017 13:00:00 เขื่อนลำปาวเพิ่มเป็นวิกฤต 79%
วิกฤต
  10:00:00 ฝนวานนี้ นครพนม จ.นครพนม          99
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ขัวก่าย จ.สกลนคร        306
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาเพียง จ.สกลนคร        319
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.กกปลาซิว จ.สกลนคร        157
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร        280
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร        161
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาคู จ.กาฬสินธุ์        197
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.คำตากล้า จ.สกลนคร        212
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองกวั่ง จ.สกลนคร        177
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ศรีสงคราม จ.นครพนม        207
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.กุมภวาปี จ.อุดรธานี        189
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หมูม่น จ.กาฬสินธุ์        171
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.สว่าง จ.สกลนคร        196
เฝ้าระวังสูงสุด
29/7/2017 18:00:00 ฝน3วัน ต.สว่าง จ.สกลนคร        156
เฝ้าระวังสูงสุด
  12:00:00 เขื่อนน้ำพุงเพิ่มเป็นวิกฤต 90%
วิกฤต
  12:00:00 เขื่อนน้ำอูนเพิ่มเป็นวิกฤต 109%
วิกฤต
  10:00:00 ฝน3วัน ต.นาเพียง จ.สกลนคร        286
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ ต.นาเพียง จ.สกลนคร        142
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาสะไมย์ จ.ยโสธร        181
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.กกปลาซิว จ.สกลนคร        177
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        205
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร        175
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองหมื่นถ่าน จ.ร้อยเอ็ด        184
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        197
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นิคมน้ำอูน จ.สกลนคร        158
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาคู จ.กาฬสินธุ์        222
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด        171
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.แห่ใต้ จ.มหาสารคาม        154
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ชุมพร จ.ร้อยเอ็ด        186
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ศรีสงคราม จ.นครพนม        165
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาหมอม้า จ.อำนาจเจริญ        206
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หมูม่น จ.กาฬสินธุ์        175
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.แมด จ.อำนาจเจริญ        180
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน28/07-29/05น. ต.คำตากล้า จ.สกลนคร        112
วิกฤต
  5:00:00 ฝน28/07-29/05น. ต.หนองกวั่ง จ.สกลนคร          95
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน28/07-29/05น. ต.บ้านเชียง จ.อุดรธานี          92
เฝ้าระวังสูงสุด
  1:00:00 ฝน28/07-29/01น. ต.นาเพียง จ.สกลนคร        143
วิกฤต
  1:00:00 ฝน28/07-29/01น. ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร        121
วิกฤต
  1:00:00 ฝน28/07-29/01น. ต.กุมภวาปี จ.อุดรธานี        113
วิกฤต
  0:00:00 ฝน28/07-29/00น. ต.ขัวก่าย จ.สกลนคร        132
วิกฤต
  0:00:00 ฝน28/07-29/00น. ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร        102
เฝ้าระวังสูงสุด
  0:00:00 ฝน28/07-29/00น. ต.คำตากล้า จ.สกลนคร        104
เฝ้าระวังสูงสุด
  0:00:00 ฝน28/07-29/00น. ต.ศรีสงคราม จ.นครพนม        111
วิกฤต
28/7/2017 23:00:00 ฝน07-23น. ต.ม่วงไข่ จ.สกลนคร          93
เฝ้าระวังสูงสุด
  22:00:00 ฝน07-22น. ต.ขัวก่าย จ.สกลนคร        121
วิกฤต
  21:00:00 ฝน07-21น. ต.ขัวก่าย จ.สกลนคร          98
เฝ้าระวังสูงสุด
  19:00:00 ฝน07-19น. ต.คำตากล้า จ.สกลนคร          99
เฝ้าระวังสูงสุด
  19:00:00 ฝน07-19น. ต.ศรีสงคราม จ.นครพนม          90
เฝ้าระวังสูงสุด
  14:00:00 ฝน07-14น. ต.นาเพียง จ.สกลนคร        117
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ กาฬสินธุ์ (กมลาไสย) จ.กาฬสินธุ์        100
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 ฝนวานนี้ ท่าพระ สกษ. จ.ขอนแก่น        104
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 ฝนวานนี้ สกลนคร สกษ. จ.สกลนคร        149
วิกฤต
  7:00:00 ฝนวานนี้ ต.แมด จ.อำนาจเจริญ        113
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาสะไมย์ จ.ยโสธร        186
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        238
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองหมื่นถ่าน จ.ร้อยเอ็ด        217
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.พะลาน จ.อุบลราชธานี        177
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        266
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.โนนแดง จ.มหาสารคาม        201
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาคู จ.กาฬสินธุ์        168
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด        211
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.แห่ใต้ จ.มหาสารคาม        200
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.แคนดง จ.บุรีรัมย์        177
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ป่าไร่ จ.มุกดาหาร        151
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ชุมพร จ.ร้อยเอ็ด        169
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาหมอม้า จ.อำนาจเจริญ        193
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.กำแพง จ.ศรีสะเกษ        164
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ดอนหว่าน จ.มหาสารคาม        168
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.รอบเมือง จ.ร้อยเอ็ด        151
เฝ้าระวังสูงสุด
  6:00:00 ฝน27/07-28/06น. ต.นาเพียง จ.สกลนคร        108
เฝ้าระวังสูงสุด
  6:00:00 ฝน27/07-28/06น. ต.นาคู จ.กาฬสินธุ์          93
เฝ้าระวังสูงสุด
  6:00:00 ฝน27/07-28/06น. ต.สว่าง จ.สกลนคร          94
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน27/07-28/05น. ต.แมด จ.อำนาจเจริญ          98
เฝ้าระวังสูงสุด
27/7/2017 9:00:00 ฝนวานนี้ บุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์        101
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 ฝนวานนี้ กาฬสินธุ์ (กมลาไสย) จ.กาฬสินธุ์        151
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ ร้อยเอ็ด สกษ. จ.ร้อยเอ็ด        193
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ มหาสารคาม (โกสุมพิสัย) จ.มหาสารคาม        132
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ ขอนแก่น จ.ขอนแก่น          91
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        163
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.พะลาน จ.อุบลราชธานี        214
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        220
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.โนนแดง จ.มหาสารคาม        170
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาโพธิ์กลาง จ.อุบลราชธานี        153
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด        162
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.นาหมอม้า จ.อำนาจเจริญ        198
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.แมด จ.อำนาจเจริญ        159
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน26/07-27/05น. ต.หนองหมื่นถ่าน จ.ร้อยเอ็ด          90
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน26/07-27/05น. ต.ป่าแดง จ.พิษณุโลก          71
เฝ้าระวังสูงสุด
  4:00:00 ฝน26/07-27/04น. ต.โนนแดง จ.มหาสารคาม        111
วิกฤต
  3:00:00 ฝน26/07-27/03น. ต.นาคู จ.กาฬสินธุ์          90
เฝ้าระวังสูงสุด
  3:00:00 ฝน26/07-27/03น. ต.ท่าข้าม จ.ชุมพร          91
เฝ้าระวังสูงสุด
  2:00:00 ฝน26/07-27/02น. ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด        112
วิกฤต
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        129
วิกฤต
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        149
วิกฤต
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.โนนแดง จ.มหาสารคาม        104
เฝ้าระวังสูงสุด
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด          99
เฝ้าระวังสูงสุด
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.เมืองคง จ.นครราชสีมา          96
เฝ้าระวังสูงสุด
  0:00:00 ฝน26/07-27/00น. ต.นาหมอม้า จ.อำนาจเจริญ        115
วิกฤต
26/7/2017 22:00:00 ฝน07-22น. ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        116
วิกฤต
  21:00:00 ฝน07-21น. ต.โนนข่า จ.ขอนแก่น        103
เฝ้าระวังสูงสุด
  21:00:00 ฝน07-21น. ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        110
วิกฤต
  21:00:00 ฝน07-21น. ต.โนนแดง จ.มหาสารคาม          92
เฝ้าระวังสูงสุด
  21:00:00 ฝน07-21น. ต.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด          91
เฝ้าระวังสูงสุด
  20:00:00 ฝน07-20น. ต.หนองโพธิ์ จ.มหาสารคาม        103
เฝ้าระวังสูงสุด
  20:00:00 ฝน07-20น. ต.นาหมอม้า จ.อำนาจเจริญ        104
เฝ้าระวังสูงสุด
  16:00:00 ฝน15-16น. ต.ในเวียง จ.แพร่          40
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ ศรีสะเกษ จ.ศรีสะเกษ        103
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 ฝนวานนี้ อุบลราชธานี สกษ. จ.อุบลราชธานี        172
วิกฤต
  9:00:00 ฝนวานนี้ ตราด (คลองใหญ่) จ.ตราด        100
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 ฝนวานนี้ อุบลราชธานี (ศูนย์ฯ) จ.อุบลราชธานี        129
วิกฤต
  6:00:00 ฝน25/07-26/06น. ต.หนองเหล่า จ.อุบลราชธานี        111
วิกฤต
  0:00:00 ฝน25/07-26/00น. ต.หนองเหล่า จ.อุบลราชธานี        101
เฝ้าระวังสูงสุด
25/7/2017 22:00:00 ฝน07-22น. ต.หนองเหล่า จ.อุบลราชธานี        101
เฝ้าระวังสูงสุด
  9:00:00 Tropical Storm SONCA is 281 toward Thailand
เฝ้าระวังสูงสุด
  7:00:00 ฝน3วัน ต.เมืองพาน จ.เชียงราย        203
วิกฤต
  7:00:00 ฝน3วัน ต.ดงมะดะ จ.เชียงราย        158
เฝ้าระวังสูงสุด
  5:00:00 ฝน24/07-25/05น. ต.หนองม่วงไข่ จ.แพร่        112
วิกฤต
  1:00:00 ฝน24/07-25/01น. ต.หนองม่วงไข่ จ.แพร่          88
เฝ้าระวังสูงสุด
24/7/2017 7:00:00 ฝน3วัน ต.เมืองพาน จ.เชียงราย        205
วิกฤต
  1:00:00 ฝน23/07-24/01น. ต.เมืองพาน จ.เชียงราย          85
เฝ้าระวังสูงสุด





 ข้อมูลโดย : กรมชลประทาน / การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

         อิทธิพลจากพายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ที่ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วมในหลายพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยังทำให้น้ำไหลลงเขื่อนขนาดใหญ่ในพื้นที่มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น โดยเขื่อนน้ำอูนและเขื่อนน้ำพุง จ.สกลนคร เกิดสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนไหลออกผ่านทางระบายน้ำล้น (Spillway) ซึ่งเขื่อนน้ำอูนเริ่มเกิดสถานการณ์น้ำล้นเขื่อนตั้งแต่วันที่ 29 ก.ค. 60 เนื่องจากมีปริมาณน้ำไหลเข้ามาสูงสุดถึง 121 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่วนเขื่อนน้ำพุงเกิดสถานการณ์น้ำล้นตั้งแต่วันที่ 31 ก.ค. 60
         สำหรับสถานการณ์น้ำไหลลงเขื่อนรวมตั้งแต่วันที่ 24 ก.ค. 60 - 3 ส.ค. 60 พบว่าเขื่อนที่มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนมากที่สุดได้แก่ เขื่อนลำปาว ที่มีน้ำไหลลงเขื่อนรวม 802 ล้านลูกบาศก์เมตร และมีน้ำไหลลงเขื่อนสูงสุด 201 ล้านลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 30 ก.ค. 60 รองลงมาคือเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ที่มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนรวม 484 ล้านลูกบาศก์เมตร เนื่องจากเกิดสถานการณ์ฝนตกหนักบริเวณจังหวัดเลยและเพชรบูรณ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ต้นน้ำของเขื่อนป่าสัก รองลงมาคือเขื่อนอุบลรัตน์ ที่มีน้ำไหลลงเขื่อนรวม 474 ล้านลูกบาศก์เมตร
         จากสถานการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้ปริมาณน้ำกักเก็บของเขื่อนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นมาก โดยเขื่อนน้ำอูน จ.สกลนคร ก่อนเกิดสถานการณ์มีปริมาณน้ำกักเก็บ 81% เพิ่มขึ้นเป็น 125% และเขื่อนน้ำพุง ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นจาก 58% เป็น 104% ส่วนเขื่อนห้วยหลวง จ.อุดรธานี ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นจาก 51% เป็น 70% เขื่อนลำปาว จ.กาฬสินธุ์ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้นจาก 57% เป็น 85% เขื่อนอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ปริมาณน้ำเพิ่มจาก 54% เป็น 64% รายละเอียดเพิ่มเติมดังกราฟและตารางด้านล่าง


อ่างเก็บน้ำ
ปริมาณน้ำกักเก็บ
24/7/2560
ปริมาณน้ำกักเก็บ
3/8/2560
เพิ่มขึ้น/ลดลง
ปริมาณน้ำไหลเข้า
สูงสุดรายวัน
ปริมาณน้ำไหลเข้ารวม
ช่วงวันที่ 24 ก.ค. -3 ส.ค. 60
ปริมาณน้ำระบายรวม
ช่วงวันที่ 24 ก.ค. -3 ส.ค. 60
ปริมาณน้ำ
%
ปริมาณน้ำ
%
ปริมาณน้ำ
%
ปริมาณน้ำ
วันที่
เขื่อนน้ำอูน
422
81
648
125
+226
44
121
29-ก.ค.
298
60
เขื่อนน้ำพุง
96
58
172
104
+76
46
35
29-ก.ค.
92
15
เขื่อนห้วยหลวง
70
51
95
70
+25
19
6
29-ก.ค.
31
3
เขื่อนลำปาว
1,122
57
1,676
85
+554
28
201
30-ก.ค.
802
320
เขื่อนอุบลรัตน์
1,307
54
1,562
64
+255
10
66
31-ก.ค.
474
190
เขื่อนสิรินธร
1,117
57
1,349
69
+232
12
80
27-ก.ค.
357
93
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
356
37
395
41
+39
4
63
29-ก.ค.
484
465
เขื่อนแควน้อย
534
57
727
77
+193
20
29
31-ก.ค.
248
34

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนน้ำอูน

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนน้ำอูน

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนน้ำพุง

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนน้ำพุง

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนห้วยหลวง

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนห้วยหลวง

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนลำปาว

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนลำปาว

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนอุบลรัตน์
ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนสิรินธร

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนสิรินธร

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

ปริมาณน้ำกักเก็บอ่างเก็บน้ำ เขื่อนแควน้อย

ปริมาณน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ เขื่อนแควน้อย

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/DATA/REPORT/php/rid_bigcm.html






 ข้อมูลโดย : สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

               เดือนกรกฎาคม 2560 ประเทศไทยเกิดสถานการณ์ฝนตกหนักจากอิทธิพลของพายุ 2 ลูก ลูกแรก คือ พายุโซนร้อน "ตาลัส" (TALAS) ที่ส่งผลกระทบกับประเทศไทยในช่วงกลางเดือน ทำให้เกิดฝนตกหนักและน้ำท่วมในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะทางด้านตอนบนของภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน เป็นต้น รวมถึงบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมวลน้ำบางส่วนในพื้นที่ภาคเหนือได้ไหลลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ภาคกลาง ทำให้ปริมาณน้ำในลำน้ำมีค่อนข้างมากและเกิดน้ำท่วมขังในพื้นที่ลุ่มต่ำริมน้ำบริเวณจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
               สถานการณ์น้ำล้นตลิ่งยังไม่เข้าสู่สภาวะปกติ พายุโซนร้อน "เซินกา" (SONCA) ซึ่งเป็นพายุลูกที่ 2 ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทยในช่วงปลายเดือน ส่งผลทำให้เกิดฝนตกหนักต่อเนื่อง และเกิดน้ำท่วมหนักในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางพื้นที่ของภาคเหนือ บริเวณจังหวัดสกลนคร หนองบัวลำภู อุดรธานี ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี ยโสธร ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ เลย เพชรบูรณ์ ทั้งนี้บริเวณจังหวัดเลยและเพชรบูรณ์เป็นพื้นที่ต้นน้ำของแม่น้ำป่าสัก ทำให้มวลน้ำดังกล่าวไหลลงสู่ตอนล่างเข้าท่วมบริเวณจังหวัดลพบุรีและสระบุรี รายละเอียดเพิ่มเติมดังกราฟด้านล่าง

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

สถานี SKM001- ต.โพนงาม อ.อากาศอำนวน จ.สกลนคร

สถานี SKM003-ต.ห้วยหลัว อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

สถานี SKM005-ต.โพนสูง อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

สถานี KON001-ต.วังสะพุง อ.วังสะพุง จ.เลย

สถานี KON002- ต.ชัยพฤกษ์ อ.เมืองเลย จ.เลย

สถานี KON003-ต.นาสี อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำภู

สถานี KON005-ต.นาคำ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี

สถานี MUN010- ต.เมืองเหนือ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ

สถานี MUN008- ต.ปะเคียบ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์

สถานี MUN009- ต.ตระแสง อ.เมือง จ.สุรินทร์

สถานี MUN017- ต.หัวดอน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี

สถานี CHI011- ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี

สถานี MUN016- ต.เชียงเพ็ง อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร

สถานี CHI010- ต.ฟ้าหยาด อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร

สถานี CHI008- ต.แสนชาติ อ.จังหาร จ.ร้อยเอ็ด

สถานี CHI013- ต.ดอนสมบูรณ์ อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์

สถานี CHI005- ต.ชนบท อ.ชนบท จ.ขอนแก่น

สถานี CHI002- ต.หนองบัวระเหว อ.หนองบัวระเหว จ.ชัยภูมิ

ภาคเหนือ

สถานี CHR001- ต.ป่าอ้อดอนชัย อ.เมือง จ.เชียงราย

สถานี CHR005- ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

สถานี PAS001- ต.หล่มสัก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์

สถานี PAS002- ต.สะเดียง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์

สถานี PAS003- ต.นาเฉลียง อ.หนองไผ่ จ.เพชรบูรณ์
 

ภาคกลาง

สถานี PAS005- ต.นิคมลำนารายณ์ อ.ชัยบาดาล จ.ลพบุรี

สถานี PAS006- ต.แสลงพัน อ.วังม่วง จ.สระบุรี

สถานี CPY009- ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา

สถานี CPY010- ต.ไทรน้อย อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา

สถานี NAN008- ต.เกยไชย จ.ชุมแสง จ.นครสวรรค์
 

ข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.thaiwater.net/v3/telemetering/wl/warning





ข้อมูลโดย : สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)

         ดาวเทียม COSMO-SkyMed-2 RADARSAT-2 ได้บันทึกภาพบริเวณประเทศไทย  ช่วงวันที่ 25-30 ก.ค. 60 และจากการวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมพบพื้นที่ถูกน้ำท่วมทั้งสิ้น 35 จังหวัด ประกอบด้วย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณจังหวัดสกลนคร นครราชสีมา มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ นครพนม อุดรธานี ชัยภูมิ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ ยโสธร สุรินทร์ บึงกาฬ เลย หนองคาย มุกดาหาร หนองบัวลำภู ภาคเหนือบริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์ พิจิตร เชียงใหม่ พะเยา อุตรดิตถ์ พิษณุโลก น่าน แพร่ ลำปาง ลำพูน เชียงราย ภาคกลางบริเวณจังหวัดนครสวรรค์ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท รวมพื้นที่ถูกน้ำท่วมประมาณ 3.6 ล้านไร่  โดยจังหวัดสกลนครมีพื้นที่ถูกน้ำท่วมมากที่สุด 340,578 ไร่ รองลงมาคือจังหวัดนครราชสีมา 322,145 ไร่ และนครสวรรค์ 322,089 ไร่ รายละเอียดเพิ่มเติมดังตารางและแผนที่ด้านล่าง

คลิ๊กที่ภาพเพื่อแสดงภาพใหญ่


รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-2 บันทึกภาพวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 18.22 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ นครพนม มุกดาหาร และสุรินทร์

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-3 บันทึกภาพวันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 06.14 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุดรธานี หนองคาย สกลนคร และกาฬสินธุ์

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1 บันทึกภาพวันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 17.52 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครสวรรค์ เพชรบูรณ์ พิจิตร ลพบุรี ชัยภูมิ นครราชสีมา เลย พิษณุโลก ขอนแก่น หนองบัวลำภู และชัยนาท

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-2 บันทึกภาพวันที่ 29 กรกฎาคม 2560 เวลา 05.22 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ มุกดาหาร นครพนม และยโสธร

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 29 กรกฎาคม 2560 เวลา 17.45 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสกลนคร ร้อยเอ็ด มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นครพนม บุรีรัมย์ บึงกาฬ อุดรธานี ยโสธร สุรินทร์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา มุกดาหาร หนองคาย ขอนแก่น และอ้านาจเจริญ

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 29 กรกฎาคม 2560 เวลา 06.06 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครราชสีมา มหาสารคาม นครสวรรค์ สกลนคร ขอนแก่น ลพบุรี บุรีรัมย์ เพชรบูรณ์ กาฬสินธุ์ อุดรธานี ชัยภูมิ พิจิตร ร้อยเอ็ด หนองคาย เลย บึงกาฬ สุรินทร์ พิษณุโลก สิงห์บุรี และหนองบัวลำภู

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 30 กรกฎาคม 2560 เวลา 06.04 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสกลนคร กาฬสินธุ์ อุดรธานี นครพนม บึงกาฬ หนองคาย ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ศรีษะเกษ ยโสธร สุรินทร์ อำนาจเจริญ และขอนแก่น

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-4 บันทึกภาพวันที่ 30 กรกฎาคม 2560 เวลา 06.04 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสกลนคร กาฬสินธุ์ อุดรธานี นครพนม บึงกาฬ หนองคาย ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ศรีษะเกษ ยโสธร สุรินทร์ อำนาจเจริญ และขอนแก่น

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-3 บันทึกภาพวันที่ 31 กรกฎาคม 2560 เวลา 17.41 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดศรีสะเกษ อุบลราชธานี อำนาจเจริญ และยโสธร

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1 บันทึกภาพวันที่ 1 สิงหาคม 2560 เวลา 05.58 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดสกลนคร อุดรธานี นครพนม หนองคาย บึงกาฬ กาฬสินธุ์ ขอนแก่น และมหาสารคาม

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม COSMO-SkyMed-1 บันทึกภาพวันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 05.45 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดนครพนม สกลนคร อุบลราชธานี ยโสธร อำนาจเจริญ บึงกาฬ และศรีสะเกษ

รายละเอียดเพิ่มเติม
รายงานการติดตามพื้นที่น้ำท่วมปี 2560 โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียม Radarsat-2 บันทึกภาพวันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 05.50 น. บริเวณบางส่วนของจังหวัดร้อยเอ็ด ยโสธร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี
อำนาจเจริญ สุรินทร์ มหาสารคาม บุรีรัมย์

รายละเอียดเพิ่มเติม


ภาพถ่ายทางอากาศแสดงพื้นที่น้ำท่วม


ภาพถ่ายมุมสูงพื้นที่ประสบอุทกภัยโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปลือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.กาฬสินธุ์
บันทึกภาพโดยอากาศยานไร้คนขับ(Drone) เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2560
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ


 
 ข้อมูลโดย : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

            รายงานสถานการณ์สาธารณภัยของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำวันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 07.00 น. ได้รายงานสถานการณ์ฝนตกหนักทำให้เกิดอุทกภัยและน้ำไหลหลากท่วมขังในพื้นที่ 44 จังหวัด ประกอบด้วย นครสวรรค์ ชัยนาท จันทบุรี เพชรบูรณ์ น่าน พระนครศรีอยุธยา อุทัยธานี กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ อ่างทอง ตราด ระนอง ชัยภูมิ พิจิตร อุตรดิตถ์ พะเยา นนทบุรี พิษณุโลก สระบุรี เลย อุบลราชธานี ขอนแก่น มหาสารคาม แพร่ แม่ฮ่องสอน ประจวบคีรีขันธ์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา ลพบุรี ลำปาง กาฬสินธุ์ บุรีรัมย์ สกลนคร สุโขทัย มุกดาหาร ชุมพร อำนาจเจริญ ร้อยเอ็ด อุดรธานี ยโสธร หนองคาย นครพนม และสุรินทร์ รวม 300 อำเภอ 1,651 ตำบล 13,191 หมู่บ้าน 43 ชุมชน ประชาชนได้รับผลกระทบ 580,352 ครัวเรือน 1,845,956 คน มีผู้เสียชีวิต 29 ราย ประกอบด้วย จังหวัดสกลนคร 11 ราย มหาสารคาม 4 ราย ร้อยเอ็ด 4 ราย มุกดาหาร 2 ราย อุดรธานี 2 ราย ศรีสะเกษ 3 ราย ขอนแก่น 2 ราย อุบลราชธานี 1 ราย  ได้ให้ความช่วยเหลือทั้งหมดแล้ว 29 ราย สถานการณ์คลี่คลายแล้ว 36 จังหวัด ความเสียหายด้านสิ่งสาธารณประโยชน์ บ้านเรือนได้รับผลกระทบ 4,129 หลัง ถนน 2,055 จุด คอสะพาน 43 แห่ง สะพาน 177 แห่ง โรงเรียน 131 แห่ง วัด 39 แห่ง สถานที่ราชการ 7 แห่ง ฝ่าย/ทำนบ 8,704 แห่ง บ่อปลา 14,097 บ่อ ปศุสัตว์ 738,860 ตัว พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้านการเกษตร 3,036,310 ไร่
          ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 8 จังหวัด ได้แก่ สกลนคร กาฬสินธุ์ นครพนม ร้อยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี หนองคาย พระนครศรีอยุธยา รวมทั้งสิ้น 66 อำเอ 478 ตำบล 3,958 หมู่บ้าน ประชาชนได้รับผลกระทบ 171,779 ครัวเรือน 522,413 คน ความเสียหายด้านสิ่งสาธารณประโยชน์ บ้านเรือนได้รับผลกระทบ 2,051 หลัง ถนน 959 จุด คอสะพาน 18 แห่ง สะพาน 112 แห่ง โรงเรียน 127 แห่ง วัด 33 แห่ง สถานที่ราชการ 4 แห่ง ฝ่าย/ทำนบ 43 แห่ง บ่อปลา 10,410 บ่อ ปศุสัตว์ 736,543 ตัว พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้านการเกษตร 2,257,066 ไร่ ดังนี้
          1) จังหวัดสกลนคร วันที่ 26 ก.ค. 60 ฝนตกหนักทำให้น้ำไหลหลากในพื้นที่ 18 อำเภอ 124 ตำบล 1,509 หมู่บ้าน 43 ชุมชน ได้แก่ อ.เมืองฯ อ.พรรณานิคม อ.อากาศอำนวย อ.โคกศรีสุพรรณ อ.นิคมน้ำอูน อ.เจริญศิลป์ อ.ภูพาน อ.วาริชภูมิ อ.คำตากล้า อ.สว่างแดนดิน อ.กุสุมาลย์ อ.กุดบาก อ.ส่องดาว อ.บ้านม่วง อ.พังโคน อ.วานรนิวาส อ.เต่างอย และ อ.โพนนาแก้ว ประชาชนได้รับผลกระทบ 136,582 ครัวเรือน 431,277 คน มีผู้เสียชีวิต 11 ราย ความเสียหาย ที่อยู่อาศัย 1,049 หลัง วัด 13 แห่ง พื้นที่เกษตร ด้านพืช 892,793 ไร่ ประกอบด้วย นาข้าว 858,161 ไร่ พืชไร่ 19,780 ไร่พืชสวน 14,852 ไร่ ด้านปศุสัตว์ 704,284 ตัว ประกอบด้วย โค 51,278 ตัว โคนม 949 ตัว กระบือ 15,763 ตัวสุกร 17,010 ตัว แพะ 55 ตัว ไก่พื้นเมือง 550,848 ตัว ไก่ไข่ 10,000 ตัว เป็ด 58,369 ตัว ห่าน 12 ตัว แปลงหญ้า 194 ไร่ ด้านประมง 7,213.97 ไร่ สิ่งสาธารณประโยชน์ 431 แห่ง คอสะพาน 4 แห่ง โรงเรียนที่ปิด 101 แห่งได้เปิดทำการได้เปิดทำการทุกแห่งแล้วตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม 2560 ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 6 อำเภอ ได้แก่ อ.เมืองฯ อ.พรรณานิคม อ.สว่างแดนดิน อ.กุสุมาลย์ อ.โคกศรีสุพรรณ อ.โพนนาแก้ว รวม 13 ตำบล 32 หมู่บ้าน 15,795 ครัวเรือน 47,385 คน
          2) จังหวัดกาฬสินธุ์ วันที่ 27 ก.ค. 60 ฝนตกหนักทำให้น้ำไหลหลากในพื้นที่ 18 อำเภอ ได้แก่ อ.เมืองฯ อ.นามน อ.กมลาไสย อ.ร่องคำ อ.กุฉินารายณ์ อ.เขาวง อ.ยางตลาด อ.ห้วยเม็ก อ.สหัสขันธ์ อ.คำม่วง อ.ท่าคันโท อ.หนองกุงศรี อ.สมเด็จ อ.ห้วยผึ้ง อ.สามชัย อ.นาคู อ.ดอนจาน อ.ฆ้องชัย รวมทั้งสิ้น 124 ตำบล 1,224 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ 37,136 ครัวเรือน (จุดอพยพ อ.ยางตลาด วัดบ้านดอน 100 ครัวเรือน) พื้นที่นาข้าวที่ได้รับความเสียหาย 265,709 ไร่ มันสำปะหลัง 9,675 ไร่อ้อยโรงงาน 9,900ไร่ ด้านปศุสัตว์ ได้รับผลกระทบ จำนวน 12,410 ตัวด้านประมง บ่อปลาได้รับความเสียหาย 1,883 บ่อ พื้นที่ 1,843.75 ไร่ ปลาในกระชัง 11 กระชัง พื้นที่ 268 ตร.ม. กุ้งก้ามกราม 256 บ่อ พื้นที่ 418 ไร่ ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 5 อำเภอ ได้แก่ อ.เมืองฯ อ.ยางตลาด อ.ฆ้องชัย อ.กมลาไสย อ.ร่องคำ รวม 44 ตำบล 448 หมู่บ้าน 14,929 ครัวเรือน 44,787 คน
          3) จังหวัดนครพนม วันที่ 24-29 ก.ค. 60 ฝนตกหนักและมวลน้ำจากหนองหาน จ.สกลนคร ทำให้น้ำไหลหลากในพื้นที่ 10 อำเภอ ได้แก่ อ.นาแก อ.เรณูนคร อ.วังยาง อ.นาหว้า อ.ศรีสงคราม อ.โพนสวรรค์ อ.ท่าอุเทน อ.ธาตุพนม อ.นาทม อ.ปลาปาก รวมทั้งสิ้น 71 ตำบล 562 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ 20,162 ครัวเรือน 62,561 คน (จุดอพยพ 3 จุด จำนวน 300 คน ได้แก่ (1) ศูนย์พักพิงชั่วคราว วัดโพธิ์ชัยศรี ตำบลพิมาน อ.นาแก ผู้อพยพจำนวน 200 คน (2) ศูนย์พักพิงชั่วคราว โรงเรียนบ้านนาขามส้มป่อย อ.วังยาง ผู้อพยพจำนวน 50 คน (3) ศูนย์พักพิงชั่วคราว โรงเรียนบ้านดอนขาว อ.เรณูนคร ผู้อพยพจำนวน 50 คน) พื้นที่การเกษตร 186,663 ไร่ ด้านปศุสัตว์ได้รับความเสียหายเกษตรกร 4 ราย ไก่พื้นเมือง 923 ตัว เป็ดไข่ 38 ตัว เป็ดเนื้อ 190 ตัว ไก่งวง 56 ตัว ได้รับผลกระทบ 686 ราย โค 1,403 ตัว กระบือ 1,948 ตัว สุกร 1,328 ตัว แพะ 29 ตัว ไก่พื้นเมือง 6,953 ตัว ไก่เนื้อ 5,500 ตัว ไก่งวง 56 ตัว เป็ด 538 ตัว เป็ดเนื้อ 1,418 ตัว นกกระทา 700 ตัว ห่าน 23 ตัว สุนัข 213 ตัว แมว 42 ตัว สัตว์น้ำที่เลี้ยงในบ่อดิน 3,011 ราย 1,987 ไร่ สัตว์น้ำ ที่เลี้ยงในกระชังบ่อซีเมนต์ 3 ราย 315 ตรม. ถนนได้รับผลกระทบ 60 จุด
          4) จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 29 ก.ค. 60 เกิดฝนตกหนักมีน้ำไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่ 20 อำเภอ ได้แก่ อ.เสลภูมิ อ.จังหาร อ.โพธิ์ชัย อ.โพนทราย อ.สุวรรณภูมิ อ.ทุ่งเขาหลวง อ.เมืองฯ อ.เกษตรวิสัย อ.เชียงขวัญ อ.ศรีสมเด็จ อ.ธวัชบุรี อ.จตุรพักตรพิมาน อ.อาจสามารถ อ.พนมไพร อ.หนองพอก อ.เมืองสรวง อ.เมยวดี อ.หนองฮี อ.ปทุมรัตน์ อ.โพนทอง รวมทั้งสิ้น 159 ตำบล 1,766 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ 71,469 ครัวเรือน มีผู้เสียชีวิต 4 ราย พื้นที่ที่คาดว่าจะเสียหาย นาข้าว จำนวน 612,033.75 ไร่ พืชไร่ 434 ไร่ พืชสวน 9 ไร่ บ่อปลา 83 บ่อ ถนน 348 จุด ฝาย 36 จุด สะพาน 24 จุด คอสะพาน 4 แห่ง จุดอพยพ 4 จุด รวม 337 ครัวเรือน 1,285 คน (1) ต.พระธาตุ อ.เชียงขวัญ ตั้งอยู่ที่บริเวณพนังกั้นน้ำ บ.แก่งข่า 23 ครัวเรือน 105 คน (2) ต.ม่วงลาด อ.จังหาร บริเวณพนังกั้นน้ำทางเข้า บ.หนองแค ม.8 29 ครัวเรือน 123 คน (3) ต.พลับพลา อ.เชียงขวัญ บริเวณสะพานข้ามลำน้ำชี บ.วังยาว-วังเจริญ 282 ครัวเรือน 995 คน (4) ต.ดงสิงห์ อ.จังหาร บริเวณพนังกั้นน้ำ บ.ดินแดง 3 ครัวเรือน 12 คน จุดอพยพสัตว์เลี้ยง 6 จุด
          5) จังหวัดยโสธร วันที่ 29 ก.ค. 60 เกิดฝนตกหนักมีน้ำไหลหลากเข้าท่วมพื้นที่ 9 อำเภอ ได้แก่ อ.ป่าติ้ว อ.คำเขื่อนแก้ว อ.กุดชุม อ.ไทยเจริญ อ.ทรายมูล อ.ค้อวัง อ.เลิงนกทา อ.เมืองฯ อ.มหาชนะชัย รวม 61 ตำบล 398 หมู่บ้านราษฎรได้รับผลกระทบ 22,019 ครัวเรือน ที่อยู่อาศัย 126 หลังคาเรือน พื้นที่นาข้าวที่คาดว่าจะเสียหาย จำนวน 116,140 ไร่ พืชไร่ 5,847 ไร่ ถนน 35 จุด สะพาน 4 แห่ง วัด 1 แห่งโรงเรียน 1 แห่ง บ่อปลา 12 บ่อ (จุดอพยพ 1 จุด อ.ค้อวัง ต.บ้านติ้ว 4 ครัวเรือน)
          6) จังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 25 ก.ค. 60 ฝนตกหนักทำให้น้ำไหลหลากในพื้นที่ 22 อำเภอ 110 ตำบล 19 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ 21,330 ครัวเรือน 62,020 คน มีผู้เสียชีวิต 1 ราย ความเสียหาย บ้านเรือนได้รับผลกระทบ 796 หลัง ปศุสัตว์ 11,867 ตัว พื้นที่การเกษตร 175,832ไร่ บ่อปลา 1,226 บ่อ ถนน 55 จุด สะพาน/คอสะพาน 10 แห่ง ฝายทำนบ/พนังกั้นน้ำ 4 แห่ง วัด 3 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง สถานที่ราชการ 3 แห่ง ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ 9 อำเภอ ได้แก่ อ.เมืองฯ วา อ.รินชำราบ อ.ม่วงสามสิบ อ.ดอนมดแดง อ.ตระการพืชผล อ.เดชอุดม อ.เขื่องใน อ.นาเยีย และ อ.สว่างวีระวงศ์ แยกเป็นน้ำท่วมบ้านเรือนประชาชน 2 อำเภอ คือ อ.เมืองฯ และ อ.วารินชำราบ น้ำท่วมพื้นที่ทางการเกษตร 7 อำเภอ ได้แก่ อ.ม่วงสามสิบ อ.ดอนมดแดง อ.ตระการพืชผล อ.เดชอุดม อ.เขื่องใน อ.นาเยีย และ อ.สว่างวีระวงศ์
          7) จังหวัดหนองคาย วันที่ 31 ก.ค. 60 ฝนตกหนักทำให้น้ำไหลหลากในพื้นที่ อ.เฝ้าไร่ ต.นาดี (ม.1-7) ต.อุดมพร (ม.2,3,5,7,9,10,13,14) ประชาชนได้รับผลกระทบ 267 ครัวเรือน พื้นที่การเกษตรเสียหาย 1,455 ไร่ โค 65 ตัว กระบือ 29 ตัว วัด 1 แห่ง โรงเรียน 1 แห่ง และน้ำท่วมถนน 3 เส้นทาง ได้แก่ จุดที่ 1 ถนนบ้านนาดี ม.1 ต.นาดี ระดับน้ำสูงประมาณ 30-40 ซม. จุดที่ 2 ถนนหน้าวัดจันทรรังษี บ้านโนนยาง ม.2 ต.นาดี ระดับน้ำสูงประมาณ 30-40 ซม. ท่วมผิวทางจราจรเป็นระยะทาง 115 ม. จุดที่ 3 บ้านเจริญสุข ม.7 ต.นาดี ระดับน้ำสูงประมาณ 93 ซม. ท่วมผิวทางจราจรเป็นระยะทาง 300 ม.
          8) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 17 ก.ค. 60 ผลกระทบเขื่อนเจ้าพระยาระบายน้ำ ในพื้นที่ 6 อำเภอ 72 ตำบล 353 หมู่บ้าน ได้แก่ อ.บางบาล อ.เสนา อ.บางปะอิน อ.ผักไห่ อ.พระนครศรีอยุธยา อ.บางไทร ราษฎรได้รับผลกระทบ 15,083 ครัวเรือน   






พายุ "เซินกา" ถล่ม ปชช.หลายจว.อีสานอ่วม [ เดลินิวส์ : 26 ก.ค. 60 เวลา 11.22 น. ]

อิทธิพลพายุ “เซินกา” ทำให้หลายพื้นที่ในจังหวัดมุกดาหาร-มหาสารคาม-ศรีสะเกษ อ่วมต้นไม้ใหญ่ล้มขวางถนน ทับบ้านเรือนประชาชน น้ำท่วมขังผิวจราจร ไฟฟ้าดับหลายจุด เจ้าหน้าที่ระดมกำลังออกช่วยเหลือประชาชนแล้ว

              เมื่อวันที่ 26 ก.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากอิทธิพลของพายุ "เซินกา" ถล่มทำให้ไฟฟ้าดับหลายชั่วโมงต้นไม้ใหญ่หักโค่นทับถนน และทับบ้านเรือนราษฎร ทับรถยนต์ และป้ายโฆษณาได้รับความเสียหายจำนวนมาก ทั่วทั้งจ.มุกดาหาร ส่งผลให้หลายพื้นที่ได้รับความเสียหายโดยเฉพาะเขตเทศบาลเมืองมุกดาหาร ถนนหลายสายมีต้นไม้ใหญ่ล้มทับขวางถนน มีน้ำท่วมขังจนรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ ไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ ซึ่งหลังเกิดเหตุ เจ้าหน้าที่จากเทศบาลเมืองมุกดาหารและเจ้าหน้าที่กู้ภัยต้องช่วยกันตัดต้นไม้ที่ล้มขวางทางถนนในเขตเทศบาลเมืองมุกดาหารหลายจุด และยังพบว่า ต้นไม้ใหญ่ล้มหักโค่นใส่บ้านเรือนประชาชนจนได้รับความเสียหาย แต่ไม่มีใครได้รับบาดเจ็บ ส่วนความเสียหายยังไม่สามารถประเมินค่าได้
              ส่วนที่ถนนบรบือ-มหาสารคาม ฝนได้ตกทั้งคืนส่งผลให้น้ำท่วมจุดระหว่างบ้านโนนสะอาด-บ้านเปลือยบริเวณหลัก กม.ที่57 บ้านหนองหญ้าปล้อง บริเวณหลัก กม.ที่ 56 บ้านบ่อใหญ่มีน้ำท่วมขัง รถวิ่งได้ฝั่งเดียว เส้นวิ่งเข้าบรบือไม่สามารถใช้งานได้ ส่วนขาออกจากบรบือเข้าสารคามรถสามารถผ่านได้ ทำให้ถนนช่วงดังกล่าวรถต้องสวนทางกัน.ตามถนนเส้นดังกล่าวมีท่อน้ำที่กำลังวางลอยมากีดขวางการจราจรทำให้รถผ่านไปมาลำบากติดขัด และส่งผลให้รถลงร่องถนนเจ้าหน้าที่ตำรวจทหาร กำลังเร่งให้การช่วยเหลือ หากฝนไม่ตกลงมาอีก คาดว่าช่วงบ่ายระดับน้ำท่วมขังคงลดลงสามารถเปิดใช้งานถนนได้ตามปกติทั้งสองฝั่ง ส่วนไร่นาของเกษตรกรในพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายในวงกว้าง
              ขณะที่นายเสน่ห์ นนทะโชติ ผวจ.มหาสารคาม ได้ออกประกาศเตือนจากกรมอุตุฯให้เฝ้าระวังฝนพายุขยายบริเวณกว้างหลายพื้นที่ มีผลกระทบถึง 29 ก.ค. 60 ขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากสภาวะฝนตกหนัก ถึงหนักมากซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันน้ำป่าไหลหลากและน้ำล้นตลิ่ง
              ที่ จ.ศรีสะเกษ ฝนได้เทกระหน่ำครอบคลุมทั้ง 22อำเภอ ซ้ำยังตกหนักต่อเนื่องตลอดทั้งวันทั้งคืน ส่งผลให้น้ำเอ่อท่วม บ้านเรือนราษฎร ร้านค้า สำนักงานหน่วยงานราชการ น้ำท่วมขังพื้นผิวจราจร บนถนนหลายสาย ปริมาณน้ำฝนมากไหลลงท่อระบายน้ำไม่ทัน จนเอ่อล้นไหลเข้าท่วม บ้านเรือนราษฎร โดยเฉพาะที่อาศัย อยู่ริมถนนทองมากในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ ทำให้ต้องปิดบ้านเรือนขนย้ายสิ่งของหนีน้ำยกขึ้นเก็บในที่สูง ทั้งนี้ พ.ต.ต.ศราวุฒิ คำน้อยสว.จร.สภ.เมืองศรีสะเกษ ได้จัดกำลังเจ้าหน้าที่ ตำรวจจราจร ตากฝนอำนวยความสะดวกในชั่วโมงเร่งด่วนเต็มอัตรา
              ขณะเดียวกัน นายธวัช สุระบาล ผวจ.ศรีสะเกษ ได้เรียกประชุมด่วน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและนายอำเภอทุกอำเภอ พร้อมสั่งการให้จัดเตรียมข้อมูลที่สำคัญ และแนวทางแก้ไขปัญหาเข้าเสนอในที่ประชุม ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ จ.ศรีสะเกษ ที่ สนง.โครงการชลประทานศรีสะเกษ เพื่อติดตามสถานการณ์ และเตรียมการป้องกันแก้ไขปัญหาอุทกภัย จากพายุโซนร้อน "เซินกา"







พายุเซินกาถล่มกาฬสินธุ์ น้ำท่วมเขตเทศบาลเมืองหนัก [ กรุงเทพธุรกิจ : 26 ก.ค. 60 ]

พายุฝนเซินกาถล่มเมืองกาฬสินธุ์ ถนนหลายสายถูกน้ำท่วมขังสูง ทำให้รถเล็กสัญจรผ่านไปมายากลำบาก

               เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2560 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากการติดตามสถานการณ์พายุฝน ซึ่งหลายพื้นที่ใน จ.กาฬสินธุ์ ยังคงได้รับอิทธิพลจากพายุเซินกา เนื่องจากมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา ส่งผลให้ถนนหลายสายภายในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีน้ำท่วม และรอการระบาย โดยเฉพาะบริเวณสี่แยกไฟแดง หน้าสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.กาฬสินธุ์ สี่แยกพร้อมพรรณ ถนนหน้าสถานีขนส่ง จ.กาฬสินธุ์ สี่แยกไฟแดงโคกเวียงทางออกไป อ.สหัสขันธ์ และถนนข้างโรงเรียนเทศบาล 1 ซึ่งเป็นจุดร้านขายอาหารหน้าโรงพยาบาลกาฬสินธุ์มีน้ำท่วมขังระดับสูงกว่า 50 ซม.ทำให้รถเล็กสัญจรผ่านไปมายากลำบาก

               โดยล่าสุดนายจารุวัฒน์ บุญเพิ่ม นายกเทศมนตรีเมืองกาฬสินธุ์ จ่าเอกภาราดร เนตรวงษ์ หัวหน้าฝ่ายรักษาความสงบเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ลงพื้นที่เข้าติดตามปัญหาและประเมินสถานการณ์น้ำท่วมตามจุดต่างๆภายในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์โดยจากการตรวจสอบพบว่าจากปริมาณฝนที่ตกลงมาอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งคืนจนมาถึงช่วงเช้า ซึ่งบางช่วงเวลามีฝนตกหนัก ส่งผลให้ปริมาณน้ำระบายไม่ทันจนเกิดการท่วมขังหลายจุด บางแห่งท่วมสูงถึง 50 ซม.และเอ่อไหลเข้าท่วมร้านค้าหลายแห่ง โดยเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ได้เข้าสำรวจเส้นทางระบายน้ำแล้วพบว่าไม่มีสิ่งกีดขวางทางน้ำและน้ำยังคงระบายได้ดี คาดว่าหากฝนที่ตกลงมาอย่างต่อเนื่องในขณะนี้ไม่ตกหนักติดต่อกันนานหลายชั่วโมงระดับน้ำที่ท่วมขังตามจุดต่างๆก็จะกลับเข้าสู่ภาวะปกติ อย่างไรก็ตามทางเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ยังได้จัดเจ้าหน้าที่พร้อมรถบรรทุก และเครื่องสูบน้ำไว้เฝ้าระวังน้ำท่วมตามจุดต่างๆ เพื่อให้ความช่วยเหลือประชาชนหากเกิดสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลันตลอด 24 ชั่วโมงอีกด้วย

               นอกจากนี้ยังมีรายงานว่าถนนสาย อ.สมเด็จ – อ.ภูพาน จ.สกลนคร บริเวณรอยต่อระหว่า อ.สร้างค้อ จ.สกลนคร – ต.ผาเสวย อ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์มีต้นไม้ขนาดใหญ่ล้มขวางถนนทำให้รถไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้ ซึ่งเจ้าหน้าที่กำลังเข้าตัดต้นไม้ที่ล้มขวางทางจราจรแล้ว คาดว่าน่าจะใช้เวลาไม่นานการจราจรก็จะกลับเข้าสู่ปกติ ขณะที่สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำปาวล่าสุดวันนี้มีปริมาณน้ำอยู่ที่ 1,143 ล้าน ลบ.ม.จากความจุ 1,980 ล้าน ลบ.ม.หรือ 58 % มีน้ำไหลเข้าล่าสุด 22 ล้าน ลบ.ม.และระบายน้ำ 19 ล้าน ลบ.ม.





พายุ‘เซินกา’ถล่มร้อยเอ็ดน้ำท่วมสูงทั้งเมือง-ถนนถูกตัดขาด นาข้าวเสียหายนับพันไร่ [ ข่าวสด : 27 ก.ค. 60 เวลา 11.37 น.]

พายุ”เซินกา”พัดถล่มร้อยเอ็ดติดต่อกันหลายวันวัดปริมาณน้ำฝนได้ 159.0 มม. ต้นไม้ล้มทับสายไฟหักระเนระนาด น้ำท่วมทั้งเมือง ทุ่งนาข้าวจมน้ำเสียหาย ถนนเข้าหมู่บ้านน้ำท่วมสูงและไหลแรง เดือดร้อนทั้งจังหวัด
                    เมื่อวันที่ 27 ก.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เกิดพายุฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดและลมกรรโชกแรงทั้งกลางวัน กลางคืน ติดต่อกันมาหลายวัน โดยไม่มีทีท่าว่าจะหยุดซึ่งเป็นผลจากพายุ “เซินกา” ที่พัดเข้าถล่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเช้านี้วัดปริมาณน้ำฝนได้ 159.0 มิลลิเมตร แรงพายุทำให้ต้นไม้หักโค่นทับสายไฟฟ้าหักระเนระนาด น้ำท่วมถนนสายหลักในตัวเมืองและตรอกซอกซอย ระดับน้ำสูงถึง 30-80 เซนติเมตร ถนนบางสายรถเล็กวิ่งผ่านไม่ได้ต้องปิดการจราจร
               ส่วนเกษตรกรเดือดร้อนหนักนาข้าวที่กำลังเจริญเติบโตถูกน้ำท่วมสูง โดยเฉพาะในตัวเมืองร้อยเอ็ด นาข้าวเสียหายกว่า 10,000 ไร่ โดยพื้นที่ที่เสียหายหนักสุดคือบ้านดู่ หมู่ 5 ตำบลหนองแวง อำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด นาข้าวจมน้ำกว่า 1,000 ไร่ ถนนเข้าหมู่บ้านระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร ถูกกระแสน้ำไหลผ่านยวดยานพาหนะสัญจรไป-มาไม่ได้ ต้องเลี่ยงไปใช้ถนนอีกสายอย่างทุลักทุเล
               นายสมพงษ์ ศิริบาล ผู้อำนวยการอุตุนิยมวิทยาร้อยเอ็ด กล่าวว่า ฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด ในรอบ 24 ชั่วโมงที่ผ่านมา วัดปริมาณน้ำฝนได้ 159.0 มิลลิเมตร คาดว่าฝนจะตกอย่างต่อเนื่องไปอีกหลายวัน และเนื่องจากฝนสะสมขอให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้ำชี อำเภอจังหาร เชียงขวัญ ธวัชบุรี เสลภูมิ อาจสามารถ พนมไพร โพนทราย และทุ่งเขาหลวง เตรียมอพยพข้าวของและสัตว์เลี้ยงขึ้นที่สูง เพราะอาจเกิดน้ำชีล้นตลิ่งไหลบ่าเข้าท่วมเรือกสวน ไร่ นา และบ้านเรือนเสียหายได้





น้ำท่วมสกลฯ หนักสุด รอบ 30 ปี อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นพัง-ปิดสนามบินแล้ว [ ไทยรัฐ : 28 ก.ค. 60 เวลา 16.06 น. ]
                    อ่วม! สกลนครวิกฤติหนักในรอบ 30 ปี ท่วมเกือบทั้งจังหวัด ถนนหลายสายกลายเป็นอัมพาต อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นพัง-ประกาศปิดสนามบินแล้ว
อิทธิพลพายุ 'เซินกา' ที่แผ่เข้าปกคลุมประเทศไทย ทำให้มีฝนตกหนักต่อเนื่อง ส่งผลกระทบให้หลายพื้นที่ต้องเผชิญกับสภาวะน้ำท่วม เช่นเดียวกับที่จังหวัดสกลนคร ได้มีฝนตกลงมาต่อเนื่องติดต่อกันหลายวัน ที่ผ่านมา และยังคงตกต่อเนื่องตลอดเวลา โดยเมื่อคืนที่ผ่านมา(27 ก.ค.) มีฝนตกลงมาอย่างหนักในเขตจังหวัดสกลนคร ส่งผลให้ในเช้าวันที่ 28 ก.ค. ได้เกิดภาวะน้ำท่วมขังเพื่อรอการระบาย ในถนนหลายสายในเขตเทศบาลนคร สกลนคร เช่น ถ.รัฐพัฒนา ถ.สกลทวาปี ถ.ต.พัฒนา เป็นต้น ระดับน้ำท่วมสูงประมาณ 50 เซนติเมตร ทำให้ถนนบางสายรถเล็กไม่สามารถสัญจรผ่านไปมาได้
นอกจากนี้ น้ำได้เริ่มเอ่อล้นเข้าท่วมบ้านเรือนราษฎรในเกือบทุกชุมชน ในเขตเทศบาลนครสกลนคร ส่งผลให้การจราจรเริ่มติดขัดในถนนหลายสาย ขณะที่บริเวณหนองสนม แหล่งน้ำที่เป็นแก้มลิงที่รองรับน้ำเพียงแห่งเดียวในเขตเทศบาลนครสกลนคร ก็เข้าสู่ภาวะวิกฤติ เมื่อน้ำจากภายในเขตเทศบาลนครสกลนครไหลรวมตัวลงสู่หนองสนม จนเกินความจุ ทำให้เอ่อล้นเข้าท่วมถนนโดยรอบ รถทุกชนิดไม่สามารถผ่านไปได้ ต้องปิดการจราจรโดยเด็ดขาด
                    นอกจากนี้ ยังมีรายงานว่า ภาวะน้ำท่วมจากพิษของพายุเซินกา ได้ส่งผลกระทบเกือบทั้งจังหวัดสกลนคร โดยนับตั้งแต่เช้ามืดมีรายงานทยอยสถานการณ์น้ำท่วมเข้ามาเป็นระยะๆ โดยมีรายงานว่า ที่บ้านหนองสะไน ต.นาม่อง อ.กุดบาก เส้นทางเข้าสู่หมู่บ้านถูกกระแสน้ำพัดขาด ส่วนที่ บ.หนองไผ่ ต.นาหัวบ่อ อ.พรรณานิคม มีชาวบ้านผู้หญิงโทรศัพท์ร้องขอความช่วยเหลือ เนื่องจากติดอยู่ในบ้านเพียงลำพัง ในขณะที่ระดับน้ำท่วมสูงกว่า 1.50 เมตร แล้ว
                    โดยตลอดทั้งวันนี้ ยังคงมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่อง และมีรายงานว่า อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น ต.พังขว้าง อ.เมืองสกลนคร รับน้ำไม่ไหวจนอ่างแตก ทำให้น้ำทะลักเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่ ต.พังขว้าง ต.ขมิ้น ต.ธาตุนาเวง ต.ธาตุเชิงชุม รวมถึงชุมชนเมืองทั้งหมด ขณะที่ระดับน้ำในลำห้วยต่างๆ ก็เอ่อล้นตลิ่ง เข้าท่วมในเขตเทศบาลนครสกลนคร และบริเวณตำบลรอบนอกของอำเภอเมือง บางแห่งระดับน้ำท่วมสูงกว่า 2 เมตร ส่งผลการจราจรเป็นอัมพาตทั้งเมือง
                    เจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายต้องเร่งนำเรือท้องแบนเข้าช่วยเหลือประชาชนที่ติดอยู่ในบ้านใกล้กับลำห้วย ต่างๆ ที่โทรศัพท์ร้องขอเข้ามาเป็นจำนวนมาก แต่กำลัง จนท. และเรือท้องแบนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ จนกระทั่งเวลา 14.00 น. วันนี้ ยังไม่สามารถช่วยเหลือประชาชน ที่ร้องขอความช่วยเหลือออกมาได้ทั้งหมด
                    ล่าสุด ที่โรงแรม Hop Inn ที่มีที่ตั้งอยู่ริมหนองสนม ได้รับการร้องขอจากผู้ที่เข้าพักว่ามีผู้ติดอยู่ในโรงแรมดังกล่าวจำนวน 69 คน ต้องการความช่วยเหลือเพื่อจะออกมาจากโรงแรมดังกล่าวเนื่องจากระดับน้ำยังคงเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างน่ากลัว โดยมทบ.29 พร้อมทหารจากอุดรธานี และนครพนม นำเรือท้องแบน เดินทางเข้ามาเสริมกำลังเพื่อให้การช่วยเหลือประชาชนชาวสกลนครอย่างเร่งด่วนแล้ว
                    ขณะที่ นายดรุณ แสงฉาย อธิบดีกรมท่าอากาศยาน (ทย.) เปิดเผยว่า ตั้งแต่ช่วงเวลา 10.00 น. ท่าอากาศยานสกลนคร จ.สกลนคร ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ ในพื้นที่ของ จ.สกลนคร โดยน้ำได้เข้าท่วมบริเวณทางเข้าสนามบิน และทางขับ(แท็กซี่เวย์) มีความสูงประมาณ 35-40 ซม. จึงทำให้ทางสนามบินสกลนครต้องประกาศยกเลิกเที่ยวบินทั้งหมดของสายการบินที่มีเที่ยวบินตั้งแต่ช่วงบ่ายของวันที่ 28 ก.ค. โดยปัจจุบันท่าอากาศยานสกลนคร มี 4 เที่ยวบินต่อวัน เป็นของสายการบินไทยแอร์เอเชีย 1 เที่ยวบิน และนกแอร์ 3 เที่ยวบิน
                    ทั้งนี้ได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ติดตามเฝ้าดูสถานการณ์อย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชม.ว่าน้ำจะท่วมเพิ่มสูงขึ้นหรือไม่ หากเพิ่มสูงขึ้นอาจต้องปิดสนามบินงดทำการบินไปก่อน เพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารและอากาศยาน
                    นายดรุณ กล่าวต่อว่า เมื่อช่วงเช้าที่ผ่านมา เที่ยวบินของสายการบินไทยแอร์เอเชีย ยังสามารถลงจอดได้ตามปกติ เพราะน้ำยังท่วมแท็กซี่เวย์ และทางเข้าสนามบินไม่มากนัก แต่ก็มีผู้โดยสาร ตกค้างที่สนามบินประมาณ 15 คน ซึ่งทางสนามบินได้ประสานไปยังหน่วยงานทหาร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้ามาช่วยเหลือจัดรถเข้ามารับผู้โดยสารเพื่อไปส่งภายในตัวเมืองเรียบร้อยแล้ว
                    อย่างไรก็ตาม เวลานี้ได้ประสานกับทางสายการบินอยู่ตลอด เพื่อให้แจ้งผู้โดยสารทราบเรื่องการเปลี่ยนแปลงเที่ยวบินและการคืนตั๋วโดยสาร โดยกรณีที่สายการบินยกเลิกเที่ยวบินจะต้องคืนเงินให้ผู้โดยสารครบ 100% หากต้องการเลื่อนวันเดินทางสามารถทำได้โดยสารการบินจะเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด และกรณีผู้โดยสารมีความจำเป็นต้องเดินทาง ต้องประสานการเดินทางไปยังสนามบินใกล้เคียงด้วย
                    ด้านนายนิพนธ์ มังกรแก้ว ผู้อำนวยการโครงการชลประทานสกลนคร สำนักชลประทานที่ 5 ยอมรับว่า จากสถานการณ์ฝนตกหนักต่อเนื่อง ส่งผลให้ ขณะนี้ อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น ตำบลพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นอ่างเก็บนำขนาดกลาง ความจุอ่างที่ 2 ล้าน 4 แสนลูกบาศก์เมตร แบกรับน้ำเกินขนาด จนส่งผลให้มีน้ำล้นทำนบดิน และพังทลายกินลึกประมาณ 4 เมตร ยาว 20 เมตร ทำให้มีน้ำไหลออกทันที กว่า 1 ล้านลูกบาศก์เมตร เข้าสู่พื้นที่ใกล้เคียง คือ ตำบลขมิ้น กับตำบลพังขว้าง โดยพื้นที่ดังกล่าว เป็นบ้านเรือนประชาชน และพื้นที่ทางการเกษตร
                    นอกจากนี้ กระแสน้ำได้กัดคอสะพานบนถนนหมายเลข 22 เส้นสกลนคร-อุดรธานี ขาดไป 1 สะพาน เบื้องต้น เจ้าหน้าที่กรมชลประทานกำลังเร่งเข้าไปในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ต้องปรเมินจากหน้างสานอีกครั้งว่าจะใช้วิธีนำถุงทรายมาวาแทนทำนบดินชั่วคราว หรือนำรถแม็คโครเข้ามาเพื่อแก้ปัญหาต่อไป






สกลนครอ่วม! จมบาดาลทั้งเมือง เก๋งเกือบมิดหลังคา โรงแรมก็หนัก อ่างเก็บน้ำทะลัก [ ข่าวสด : 28 ก.ค. 60 เวลา 15.14 น. ]
                    ล่าสุดอ่างเก็บน้ำห้วยทราย ตั้งอยู่ที่ริมเทือกเขาภูพาน บ้านห้วยทราย ต.ขมิ้น อ.เมืองสกลนคร รับการสะสมน้ำไม่ไหว ทำให้คันอ่างแตกน้ำทะลักลงพื้นนา และหมู่บ้านอยู่ด้านล่างลงสู่หนองหาร ส่งผลให้รวมมวลน้ำกับเขื่อนน้ำอูนที่ปล่อยระบายออกมา ท่วมหลายพื้นที่ ทำให้ต้องมีการอพยพชาวบ้านออกจากพื้นที่เสี่ยงหลายแห่ง
                    ผู้สื่อข่าวรายงานว่ามีการแจ้งเตือนหากฝนไม่หยุดตก อีก 5 ชม.ข้างหน้าให้ประชาชน ที่อยู่ริมหนองหารหรือไต้อ่างเก็บน้ำ เขื่อนน้ำอูนให้ระวังน้ำหลากจากเทือกเขาภูพาน ใหลสมทบลงสู่หนองหารอาจทำให้น้ำท่วมสูงได้
ส่วนในเขตเทศบาลนครสกลนคร มีบางจุดไฟฟ้าดับ และกิจการร้าน ห้าง ต่างๆ ปิดชั่วคราว พร้อมทั้งสนามบินสกลนคร เตรียมที่จะปิดตัวชั่วคราวเนื่องจากมีน้ำท่วมขัง หลายจุดเกรงไม่ปลอดภัย







ผอ.ชลประทานยอมรับ”ทำนบดิน”อ่างห้วยทรายขมิ้นแตก 20 เมตรจนน้ำ 1 ล้าน ลบ.ม. ทะลัก [ ข่าวสด : 29 ก.ค. 60 เวลา 11.35 น.]

                    ความคืบหน้าน้ำท่วมที่สกลนคร เมื่อวันที่ 29 ก.ค. นายนิพนธ์ มังกรแก้ว ผู้อำนวยการโครงการชลประทานสกลนคร สำนักชลประทานที่ 5 ให้สัมภาษณ์ว่า จากสถานการณ์ฝนตกหนักต่อเนื่อง ส่งผลให้ ขณะนี้ อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น ตำบลพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นอ่างเก็บนำขนาดกลาง ความจุอ่างที่ 2 ล้าน 4 แสนลูกบาศก์เมตร แบกรับน้ำเกินขนาด จนส่งผลให้มีน้ำล้นทำนบดิน และ พังทลายกินลึกประมาณ 4 เมตร ยาว 20 เมตร ทำให้มีน้ำไหลออกทันที กว่า 1 ล้านลูกบาศก์เมตร เข้าสู่พื้นที่ใกล้เคียง คือ ตำบลขมิ้น กับตำบลพังขว้าง โดยพื้นที่ดังกล่าว เป็นบ้านเรือนประชาชน และ พื้นที่ทางการเกษตร นอกจากนี้ กระแสน้ำได้กัดคอสะพานบนถนนหมายเลข 22 เส้นสกลนคร-อุดรธานี ขาดไป 1 สะพาน
                    เบื้องต้น เจ้าหน้าที่กรมชลประทานกำลังเร่งเข้าไปในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ต้องประเมินจากหน้างานอีกครั้งว่าจะใช้วิธีนำถุงทรายมาวางแทนทำนบดินชั่วคราว หรือ นำรถแม็คโครเข้ามาเพื่อแก้ปัญหาต่อไป
                    สำหรับปัญหาน้ำท่วมสกลนคร เกิดจาก
                    1.อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นความจุ 2.4 ล้าน ลบ.ม. มีน้ำมากทำให้น้ำล้นคันกั้นน้ำ กัดเซาะคันดินกว้าง 20 ม. ลึก 4 ม. มีน้ำไหลออกจากอ่างเก็บน้ำ ราว 1 ล้าน ลบ.ม. ขณะนี้น้ำหยุดไหลแล้ว ซึ่งปริมาณน้ำ 1 ล้าน ลบ.ม. นี้ไม่ได้ทำให้น้ำท่วมสูงมาก หากน้ำ 1 ล้าน ลบ.ม. นี้แผ่กระจายไป 10 ตร.ม. (10 ล้าน ตร.ม.) น้ำจะสูงขึ้น 0.1 ม. หรือ 10 ซม. ซึ่งพื้นที่ อ.เมือง จ.สกลนคร มากกว่า 10 ตร.กม. มาก
                    2. อ.เมือง จ.สกลนคร อยู่ใกล้กับหนองหารสกลนคร ซึ่งเป็นหนองน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ความจุ 266 ล้าน ลบ.ม. รับน้ำจากภูพาน และพื้นที่โดยรอบ น้ำจากหนองหารสกลนคร จะไหลลงแม่น้ำก่ำ และ ไหลลงแม่น้ำโขง สามารถระบายได้วันละ 15 ล้าน ลบ.ม. ขณะนี้ น้ำในหนองหารสกลนคร มีประมาณ 300 ล้าน ลบ.ม. ส่งผลต่อการระบายน้ำใน อ.เมือง จ.สกลนคร คาดว่า หากไม่มีฝนเพิ่ม อีก 2 – 3 วัน ระดับน้ำในหนองหารสกลนครจะลดลงสู่สภาวะปกติ
                    3. สาเหตุน้ำท่วม อ.เมือง จ.สกลนคร เกิดจาก 2 ส่วน คือ ระดับน้ำในหนองหารสกลนครที่สูงทำให้สูบระบายน้ำได้ไม่มากนัก สิ่งกีดขวางทางน้ำ ในพื้นที่ อ.เมือง จ.สกลนคร มีมากเช่นจังหวัดอื่น ทำให้น้ำระบายได้ช้า ซึ่งหน่วยต่างๆ ได้นำเครื่องสูบน้ำระดมระบายน้ำ สามารถระบายได้วันละ 0.6 ล้าน ลบ.ม. ขณะที่มีน้ำไหลเข้าวันละ 1.0 ล้าน ลบ.ม.







50 ชุมชนรอบหนองหารวิกฤต น้ำหนุนสูงชั่วโมงละ 1 ซม.[ ผู้จัดการออนไลน์ : 30 ก.ค. 60 เวลา 17.57 น.]

สกลนคร - ผบ.ตร.ลุยพื้นที่น้ำท่วมเมืองสกลนคร มอบสิ่งของช่วยผู้ประสบภัยน้ำท่วม ขณะที่สถานการณ์ยังน่าเป็นห่วง โดยเฉพาะ 50 หมู่บ้าน รอบหนองหาร ระดับน้ำได้เอ่อท่วม น้ำหนุนสูงขึ้นชั่วโมงละ 1 เซนติเมตร ทางด้านการสัญจรยังมีถนนหลายสายหลักๆ เชื่อมจังหวัดใกล้เคียงถูกน้ำท่วมขัง 
        วันนี้ (30 ก.ค.) พล.ต.อ.จักรทิพย์ ชัยจินดา ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และคณะ ลงพื้นที่ช่วยเหลือน้ำท่วมจังหวัดสกลนคร โดยมี พล.ต.สุขพัฒน์สณฑ์ สุขสร้อย ผู้บัญชาการมณฑลทหารบกที่ 29 ให้การต้อนรับ โดย พล.ต.อ.จักรทิพย์ ได้เข้ารับฟังบรรยายสรุปสถานการณ์น้ำท่วม ในเขตเทศบาลนครสกลนคร และภาพรวมของทั้ง 18 อำเภอ ในจังหวัดสกลนคร แผนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ร่วมกับส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน และมูลนิธิ
        จากนั้นตรวจเยี่ยมผู้ประสบภัย ณ ที่พักพิงชั่วคราวศาลากลางจังหวัด เพื่อให้กำลังใจ ให้ความมั่นใจด้านความปลอดภัย พร้อมมอบถุงยังชีพแก่ผู้ประสบภัย
        ส่วนสถานการณ์น้ำท่วมโดยรวม ขณะนี้ยังถือว่าวิกฤต โดยเฉพาะหมู่บ้านที่อยู่รอบหนองหาร ซึ่งมีมากกว่า 50 หมู่บ้าน น้ำจากหนองหาร ได้หนุนสูงขึ้นชั่วโมงละ 1 ซม. ซึ่งน่าเป็นห่วงว่าหากน้ำยังคงเพิ่มขึ้น ประชาชนจะได้รับอันตราย เพราะระดับน้ำหนองหาร ล้นสปีลเวย์ กว่า 1 เมตร ต้องนำสิ่งของขึ้นเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพบก เพื่อลำเลียงเสบียงสิ่งของ อาหารไปแจกจ่ายให้แก่ผู้ประสบภัย ที่ อ.โพนนาแก้ว และ อ.โคกศรีสุพรรณ เนื่องจากเส้นทางบางสายถูกตัดขาด ขณะนี้ ความช่วยจากภาคส่วนต่างคงมีมาเรื่อยๆ
        อย่างไรก็ตาม ระดับน้ำในเมืองสกลนคร เริ่มลดบางจุด โดยเฉพาะเส้นทางหลักสายสกลนคร มุ่งหน้าไปยังอุดรธานี ระดับน้ำลดเข้าสู่ภาวะปกติ แต่ยังมีจุดสำคัญ คือ ภายในตัวเมืองสกลนคร ระดับน้ำยังท่วมขังย่านธุรกิจการค้า ตลาดสด สร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ห้างสรรพสินค้าหลายแห่งถูกน้ำทะลักท่วมได้รับความเสียหาย ซึ่งเจ้าหน้าที่กำลังเร่งหาทางระบายน้ำลงสู่หนองหาร เพื่อไหลลงสู่น้ำก่ำ ก่อนไหลลงสู่แม่น้ำโขง
        ขณะเดียวกัน ผลจากน้ำท่วมขังตัวเมืองสกลนคร และมีการระบายลงสู่น้ำโขง ทำให้ส่งผลกระทบมายังพื้นที่หลายอำเภอของ จ.นครพนม เนื่องจากมวลน้ำที่ท่วมขังจากพื้นที่ จ.สกลนคร จะต้องไหลระบายลงหนองหาร ก่อนลงสู่น้ำก่ำ ลำน้ำสาขาสายหลักของแม่น้ำโขง เริ่มจากประตูระบายน้ำจุดแรก ประตูสุรัสวดี ผ่าน อ.โพนนาแก้ว อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ไหลผ่าน อ.นาแก ลงสู่แม่น้ำโขง ที่ประตูระบายน้ำก่ำ ช่วงสุดท้าย อ.ธาตุพนม จ.นครพนม
        ทำให้มวลน้ำเริ่มไหลทะลักเอ่อท่วมพื้นที่ลุ่ม ตามแนวลำน้ำก่ำ เข้าท่วมบ้านเรือน และพื้นที่การเกษตร นาข้าวของเกษตรกร ได้รับผลกระทบหลาย 10,000 ไร่ คาดว่าระดับน้ำจะท่วมขังสูงขึ้นต่อเนื่อง หนักสุดจะเป็นพื้นที่ อ.นาแก จ.นครพนม เนื่องจากเป็นที่ลุ่มตืดกับลำน้ำก่ำ ทำให้เกิดปัญหาน้ำเอ่อท่วมจำนวนมาก
        นอกจากนี้ ยังมีปัญหาเนื่องจากเขื่อนน้ำพุง ที่กักน้ำจากเทือกเขาภูพาน ช่วงนี้มีปริมาณน้ำจำนวนมาก ทำให้ทะลักเอ่อล้นไหลลงมาในพื้นที่ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ทำให้ถนนเส้นทางหลัก หมายเลข 223 จาก อ.นาแก นครพนม มุ่งหน้าไปยัง อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร เกิดปัญหาน้ำป่าทะลักท่วม ทำให้คอสะพานลำน้ำก่ำ บริเวณบริเวณบ้านตองโขบ ต.ตองโขบ อ.โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ถูกตัดขาดไม่สามารถสัญจรไปมาได้
       โดยทางเจ้าหน้าที่ได้ทำการปิดกั้นการสัญจร และให้ใช้เส้นทางสัญจรเลี่ยงจาก อ.โคกศรีสุพรรณ มุ่งหน้าไปยัง อ.เต่างอย ก่อนมุ่งหน้าเข้าสู่ตัวเมืองสกลนคร ซึ่งปัญหาน้ำท่วมครั้งนี้สร้างความเสียหายให้แก่ จ.สกลนคร เป็นอย่างมาก
        ซึ่งล่าสุด ยังมีปัญหาถนนเส้นทางหลักสาย สกลนคร มุ่งหน้าไปยัง จ.อุดรธานี ช่วงระหว่าง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ถูกตัดขาด ต้องเลี้ยงใช้เส้นทางเลี่ยงไปยัง อ.นาหว้า จ.นครพนม ไปยัง อ.อากาศอำนวย อ.วานรนิวาส อ.พังโคน อ.วาริชภูมิ จ.สกลนคร แล้วมุ่งหน้าไป จ.อุดรธานี
        ส่วนผลกระทบน้ำท่วมหากไม่มีฝนตกลงมาต่อเนื่องอีกจะทำให้สถานการณ์เริ่มคลี่คลาย แต่จะมีปัญหาส่งผลกระทบหนักในพื้นที่ อ.นาแก จ.นครพนม หลังมวลน้ำทะลักไหลลงสู่แม่น้ำโขง 







ภาพอ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นที่แห้ง หลังน้ำทะลักท่วมบ้านเรือนในสกลนคร [ ไทยรัฐ : 31 ก.ค. 60 เวลา 19.00 น.]

                   เผยสภาพอ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นในสกลนครที่แห้งเหือด หลังประตูระบายน้ำพัง-เขื่อนดินพังทลายลง เมื่อ 3 วันก่อน จนน้ำไหลทะลักออกจนหมด เข้าท่วมบ้านเรือนประชาชน
จากสถานการณ์น้ำท่วมในพื้นที่ จ.สกลนคร รุนแรงในรอบ 40 ปี ได้ส่งผลกระทบต่ออ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น ต.ขมิ้น อ.เมือง จ.สกลนคร โดยทำให้ประตูระบายน้ำพังและเขื่อนดินพังทลาย 2 จุด ตั้งแต่วันศุกร์ 28 ก.ค. ที่ผ่านมา โดยระยะเวลาผ่านมาแล้ว 3 วัน ซึ่งเมื่อวันที่ 31 ก.ค. พบว่าขณะนี้น้ำได้ไหลออกจากอ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นจนหมดแล้ว ชาวบ้านบอกว่าในช่วงฤดูแล้ง น้ำยังไม่เคยแห้งขนาดนี้มาก่อน โดยน้ำยังไหลออกอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นน้ำมาจากเขื่อนด้านบนล้นสปิลเวย์ และเป็นน้ำจากคลองสาขาที่ไหลมาเติมในอ่างเป็นจำนวนมาก
                    ชาวบ้านเล่าให้ฟังว่า วันศุกร์ที่ผ่านมา ช่วงเช้าออกไปดูระดับน้ำ เพราะมีน้ำล้นทำนบดินไหลลงด้านล่าง ปรากฏว่าช่วงสาย ประตูระบายน้ำพัง จนทำนบดินขาดไป 2 จุด อ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้นนี้มีอายุกว่า 60 ปี เพิ่งจะเคยเกิดเหตุการณ์นี้เป็นครั้งแรก
                    อย่างไรก็ตามขณะนี้ เจ้าหน้าที่เร่งซ่อมแซม นำดินมาถมสร้างทำนบดินใหม่ คาดว่าจะใช้เวลาอีก 15 วันถึงจะแล้วเสร็จ หากซ่อมเสร็จแล้ว คาดว่าไม่นานน้ำอาจกลับมาเต็มอ่างฯ อีกครั้ง เพราะยังมีน้ำไหลมาเติมอีกจำนวนมาก แต่ชาวบ้านยังกังวลว่าส่วนที่ซ่อมแซมใหม่นั้น จะไม่แข็งแรงพอ อาจเกิดเหตุการณ์แบบนี้ซ้ำอีก
                    สำหรับอ่างเก็บน้ำห้วยทรายขมิ้น สามารถกักเก็บน้ำได้สูงสุด 2.66 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งเมื่อวันศุกร์ที่ 28 ก.ค. ที่ผ่านมา ยังมีน้ำเต็ม และมีรายงานว่าปริมาณน้ำในอ่างฯ มีมากกว่า 3 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือร้อยละ 127 ของความจุอ่างฯ แน่นอนว่าเกินความจุ จนไหลล้นสปิลเวย์ และยังไม่พอ ทำให้มีน้ำล้นทำนบดิน และกัดเซาะจนประตูระบายน้ำและสันเขื่อนพังลง ลึกประมาณ 4 เมตร ยาว 20 เมตร กระทั่งมวลน้ำทะลักลงสู่ด้านท้ายเขื่อนจนท่วมบ้านเรือนประชาชน รวมกับปริมาณน้ำในลำน้ำธรรมชาติที่มีปริมาณมากอยู่แล้ว ทำให้น้ำท่วมขยายวงกว้างมากขึ้น







ชาวบ้านแห่ขึ้นชม เขื่อนน้ำอูนล้นปากกระโถน หลังน้ำท่วมสกลนคร [ INN News : 31 ก.ค. 60 ]

น้ำท่วมสกลนคร ในตัวเมืองดีขึ้น คาด 3-5 วัน กลับสู่ภาวะปกติ ขณะที่ชาวบ้านแห่ขึ้นชมเขื่อนน้ำอูน น้ำยังล้นปากกระโถนต่อเนื่อง อยู่ที่ระดับ 120%

           วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 นายวิโรจน์ เสนาธิบดี ปลัดเทศบาลนครสกลนคร เปิดเผยว่า ขณะนี้สถานการณ์น้ำท่วมสกลนคร ในส่วนของเขตเทศบาลดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดระดับน้ำลดลง คงเหลือเฉลี่ยประมาณ 80 เซนติเมตร สำหรับสาเหตุที่ทำให้น้ำยังคงท่วมขังนั้นมาจากมวลน้ำในหนองหารไม่สามารถระบายผ่านประตูระบายน้ำสุรัสวดี ลงต่อไปยังแม่น้ำโขงได้ เพราะน้ำทางฝั่งแม่น้ำโขงดันขึ้นมา จึงทำให้การระบายเป็นไปได้ช้า ซึ่งภายในวันนี้ระดับน้ำจะลดลงอีกเรื่อย ๆ คาดว่าหากไม่มีฝนตกลงมาเพิ่มเติมอีก ภายใน 3-5 วัน สถานการณ์น้ำท่วมภายในเขตเทศบาลนครสกลนคร จะคลี่คลายจนกลับเข้าสู่ภาวะปกติ
           ขณะเดียวกัน เฟซบุ๊ก มหัศจรรย์สกลนคร รายงานว่า มีชาวบ้านจำนวนมากเดินทางขึ้นมาเที่ยวชมเขื่อนน้ำอูน อ.พังโคน จ.สกลนคร หลังมีข่าวน้ำล้นสปิลเวย์ โดยเมื่อช่วงเช้าวานนี้ (30 กรกฎาคม) น้ำยังคงล้นปากกระโถนต่อเนื่อง อยู่ที่ระดับ 120%  
สำหรับ เขื่อนน้ำอูน เป็นเขื่อนดินกั้นแม่น้ำอูน อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 54 กิโลเมตร โดยใช้ระยะเวลาก่อสร้าง 15 ปี (ปี พ.ศ. 2510-2524) ตัวเขื่อนมีความสูง 29.50 เมตร สันเขื่อนยาว 3,000 เมตร เก็บน้ำได้ 520 ล้านลูกบาศก์เมตร ใช้ประโยชน์เพื่อการเพาะปลูกในฤดูฝน 185,800 ไร่ ในฤดูแล้ง 63,000ไร่ และช่วยบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำอูน







2 เขื่อนใหญ่ในสกลนครน้ำยังล้นเกิน 100% [ โพสต์ทูเดย์ : 5 ส.ค. 60 เวลา 08.36 น.]


สกลนคร-2เขื่อนใหญ่ในสกลนครปริมาณน้ำยังล้นเกิน100เปอร์เซ็นต์เฝ้าระวังสถานการณ์ป้องกันการเกิดอุทกภัยซ้ำ
           สถานการณ์น้ำในเขื่อนขนาดใหญ่ของจังหวัดสกลนคร ยังคงมีปริมาณน้ำเกิน 100 เปอร์เซ็นต์ ทั้งเขื่อนน้ำอูน และเขื่อนน้ำพุง โดยเขื่อนน้ำอูนมีปริมาณน้ำ 589.860 ล้าน ลบ.ม.คิดเป็น 113.43 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าในช่วงเวลาเดียวกันเมื่อปีที่แล้วกว่า 66.94 เปอร์เซ็นต์ และเขื่อนน้ำพุงมีปริมาณน้ำ 168.725 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็น 101.96 เปอร์เซ็นต์มากกว่าในช่วงเวลาเดียวกันเมื่อปีที่แล้วกว่า 72.23 เปอร์เซ็นต์ ทำให้เขื่อนน้ำพุงและเขื่อนน้ำอูนรับปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาเกิน 100 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ยังมีน้ำยังคงไหลล้นสปิลเวย์ลงสู่ลำน้ำสาขา ซึ่งขณะนี้ปริมาณน้ำในบ้านเรือนและพื้นที่การเกษตรลดลงแล้ว แต่ลำน้ำอูนที่รองรับน้ำที่ล้นสปิลเวย์จากเขื่อนน้ำอูนยังคงมีน้ำจำนวนมากและไหลแรงอยู่ เจ้าหน้าชลประทานสกลนคร จึงเร่งจัดการระบายน้ำออกจากเขื่อนน้ำอูนและน้ำพุง เพื่อเตรียมรองรับน้ำฝนที่จะตกลงมา ประกอบกับในช่วงนี้พื้นที่จังหวัดสกลนครมีฝนหรือฝนฟ้าคะนองร้อยละ 70 ของพื้นที่ และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ เนื่องจากร่องมรสุมพาดผ่านประเทศพม่า ลาว และเวียดนามตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังคงมีฝนตกมากกว่าภาคอื่นๆทางจังหวัดสกลนครจึงต้องเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันการเกิดอุทกภัยซ้ำอีกครั้ง